วันอังคารที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

What is schizophrenia?

Schizophrenia is a mental health disorder that causes a person to think and act abnormally. It is rare in children less than 10 years of age and has its peak age of onset between the ages of 16 and 25. This disorder affects about 1 percent of the population, and thus high school teachers will likely see children who are in the early stages of the illness. Schizophrenia can be difficult to recognize in its early phases, and the symptoms often are blurred with other mental health disorders.
Schizophrenia usually comes on gradually, and teachers are often the first to notice the early signs. The early signs are usually non-specific. For example, students who once enjoyed friendships with classmates may seem to withdraw into a world of their own. They may say things that don’t make sense and talk about strange fears and ideas. Students may also show a gradual decline in their cognitive abilities and struggle more with their academic work. Since the disorder can come on quite gradually, it may be difficult to appreciate this decline in cognition without a longitudinal perspective over several academic years. The typical onset period lasts about 2 to 3 years. Some children show difficulties with attention, motor function, and social skills very early in life, before the onset, whereas others have no problems at all before the disorder sets in.
The signs of schizophrenia include hallucinations (hearing, seeing, smelling or feeling things that are not there), delusions (fixed false beliefs); and difficulties in organising their thoughts. A student may talk and say little of substance or the child may have ideas or fears that are odd and unusual (beyond developmental norms). Many, but not all students with schizophrenia may show a decline in their personal hygiene, develop a severe lack of motivation, or they may become apathetic or isolative. During adolescence the illness is not fully developed, and thus it is at times difficult to differentiate schizophrenia from a severe depression, substance abuse disorder, or bipolar disorder. Students who show signs of schizophrenia should be referred to appropriately qualified staff.

Educational Implications
Students with schizophrenia can have educational problems such as difficulty concentrating or paying attention. Their behaviour and performance may fluctuate from day to day. These students are likely to exhibit thought problems or physical complaints; or they may act out or become withdrawn. Sometimes they may show little or no emotional reaction; at other times, their emotional responses may be inappropriate for the situation. They may also have possible frequent or extended absences from school for medical intervention and difficulties with relationships.
Possible Educational Adjustments
Educational adjustments are designed to meet student needs on a case-by-case basis. Possible adjustments could include:
Help the student set reasonable goals
Be flexible, as symptoms may come and go – it may happen on a daily basis
Be accepting, caring and supportive – provide a safe environment for the student
Break tasks down into smaller pieces, minimize distractions, have a plan to redirect the student to help him/her return to the task at hand
Assist the student with planning and organizational skills
Have additional materials, books, supplies available for the student to use if he/she doesn’t bring them
Work with the student to relieve anxiety and have a plan if the student does become overly anxious.
Socialising may be exhausting for this student – she/he may have difficulty with groups or when everyone is excited, so plan accordingly
Give short, concise directions
Try to avoid sensory overload
Negotiated attendance (part day attendance) followed by a plan to gradually re-integrate the student into a mainstream class/program when deemed appropriate
Identified potential triggers and cues for distress and/or violence by conducting a Functional Behavioural Assessment (FBA)
Virtual schooling
Reduction of subject load
Alternative assessment
Extended time for assessment - assignments, exams
Exemption or alternative arrangements (refer to QSA Policy for Special Consideration)
Immediately addressing any negative behaviour by peers towards the student
Providing copies of class teacher’s or other students’ notes to cover emergency absences where possible
Exit plan
Allowance of break periods as needed for rest and taking of medication
Access to external agency support (Child and Youth Mental Health Services) Regular access to a guidance officer or school based youth health nurse

New Treatment Strategies for Women With SchizophreniaJayashri Kulkarni,

MDIntroductionSchizophrenia is expressed differently in men and women with respect to the age at onset, symptom expression, course of illness, and outcomes. The sex differences may have etiologic implications, as demonstrated by recent studies showing a small but significantly higher incidence of schizophrenia among men compared with women when stringent classification criteria are applied.[1] Brain abnormalities and the genetics of schizophrenia are also influenced by sex. The Estrogen Protection HypothesisA key hypothesis put forward to explain the earlier age at onset of schizophrenia by 5-10 years in men compared with women is the "estrogen protection hypothesis."[2,3] Broadly, this hypothesis proposes that women are protected against the early onset of severe schizophrenia by estrogen. Furthermore, these researchers have suggested that women are vulnerable to relapses of established illness or their first-ever episode of schizophrenia in the perimenopausal period, when estrogen production diminishes. The hypothesis also encompasses early estrogen effects on the developing brain such that a structural effect of estrogen acting on brain maturation causes the delay of first-onset schizophrenia in females by raising the vulnerability threshold for schizophrenia. Following puberty, this putative structural effect is reinforced by a functional effect. Fading estrogen secretion around menopause causes women predisposed for schizophrenia, but who until then have been protected by estrogen, to fall ill with late-onset schizophrenia. The estrogen protection hypothesis rests on 3 main lines of work: epidemiologic studies, basic science studies using animal models, and clinical studies.[4] New epidemiologic data[5] from Mannheim, Germany, reinforce the later age at onset of early schizophrenia in women and another peak of onset in women aged 50 years and older. Early animal studies[6-8] showed that estradiol downregulated dopamine neurotransmission, while more recent studies[9-11] have shown that estrogen induces a significant increase in serotonin receptors. In this way, the actions of estrogen on the serotonin receptor (5-HT2A) and the dopamine receptor (D2) mimic the actions of the new antipsychotic drugs, such as risperidone and olanzapine. Clinical studies[12,13] showed that the symptoms of schizophrenia varied with the menstrual cycle phase in 32 acutely unwell women. Riecher-Rössler[12,13] found a significant excess of admissions to hospital during the premenstrual (ie, low-estrogen phase) compared with the high-estrogen phase. Seeman[14] reported that neuroleptic dose requirements in psychotic women rise as they approach menopause. Seeman attributed an increased vulnerability to psychosis in the postmenopausal period to the fall in circulating estrogen levels. Estrogen as Adjunct to Antipsychotic TherapyWith these lines of evidence for estrogen possibly having an inherent "antipsychotic" action, my colleagues and I have conducted clinical trials using estrogen as an adjunct to antipsychotic drug treatment.[15,16] Twelve women with acute schizophrenia received 100 micrograms (mcg) of transdermal estrogen plus a standardized dose of antipsychotic drug for 28 days and made a much faster and better recovery compared with 12 women who received 50 mcg of transdermal estrogen plus antipsychotic drug. Both groups, but especially the 100-mcg transdermal estrogen-treated group, made a much better and faster recovery than a matched group of 12 women who received a placebo patch plus antipsychotic drug. This study suggests that estrogen may play a useful role in the treatment of women with schizophrenia. In particular, women who have demonstrated monthly cyclical relapse in their illness may benefit from a modified form of estrogen replacement treatment (ERT). Furthermore, in women with established illness, ERT may be very useful as a preventive measure when these women approach their menopause. Estrogen has also been postulated to have a positive effect on short- and long-term verbal memory in postmenopausal women, as well as increasing the capacity for new learning.[17] Because cognitive deficits are a major problem for women with schizophrenia, ERT may have an added benefit for postmenopausal women with schizophrenia. Gender Differences in Quality of Life: Implications for TreatmentRecent studies on the gender differences in the quality of life of people with schizophrenia have shown that women are more likely to present with affective symptoms as part of their psychosis presentation.[5,18] Other differences include the finding that women have fewer negative symptoms (ie, anhedonia, apathy, alogia, and amotivational states) compared with men. This finding was also replicated in studies of first-episode psychosis patients.[19] In 350 patients with established schizophrenia, the Global Assessment of Function (GAF) scores were significantly better in women, although overall they were only in the mild to moderate range of function.[18] The gender difference in GAF scores may in fact reflect a difference in the premorbid functioning of patients, which may in turn be a product of the age difference. As discussed earlier, women generally experience the onset of schizophrenia in late adolescence before developing a career and family. The quality of life was measured by Kulkarni[18] in 350 patients with schizophrenia using the Quality of Life Scale (QLS). Women were found to generally have a higher quality of life, as per this scale, than men. In particular, women with schizophrenia scored better than men in the areas of interpersonal relations, instrumental role, and activities. There were no significant gender differences in life satisfaction, social needs, and basic needs. After 12 months, data on the quality of life of the same patients showed no significant difference in either men or women with schizophrenia. None of the QLS subsections on interpersonal relations, instrumental role, activities, and intrapersonal activities such as motivation, empathy, or curiosity had improved, although the actual psychotic symptoms had improved. These data suggest that current treatment strategies are targeting key illness symptoms, but psychosocial rehabilitation measures to improve the patient's quality of life are either not being implemented or else are not effective. The cost of managing patients with schizophrenia showed that women were significantly more expensive to treat than men.[18] This was mainly thought to be due to women receiving attention later than men, therefore being sicker and requiring longer inpatient stays. In the study of first-episode patients with schizophrenia,[19] data on magnetic resonance imaging were presented. The main gender differences were that males had more "immature" amygdala structures compared with women, suggesting a neurodevelopmental delay in young men with schizophrenia. There were no gender differences in hippocampal volumes in this first-episode psychosis group. Women experiencing their first episode of illness had longer duration of untreated psychosis compared with men. As with the more established schizophrenia group, young women with schizophrenia had fewer negative symptoms and better quality of life compared with young men. There were no gender differences in the positive psychotic symptoms (hallucinations, delusions, thought disorder) experienced by the young, early-onset-schizophrenia group. Both men and women received similar doses and type of antipsychotic medication.[19] Drug treatment available for women with schizophrenia includes a wide range of atypical and typical antipsychotic medications. B. Kinon,[20] Eli Lilly, Indianapolis, Indiana, presented data on hyperprolactinemia caused by antipsychotic drugs and the impact of high prolactin levels on the hypothalamic-pituitary-gonadal (HPG) axis. The study reported a decrease in the sex hormones that was significantly and inversely correlated with prolactin levels. The consequences of long-standing hyperprolactinemia in terms of osteoporosis and cardiovascular disease were discussed.
New Strategies for the Management of Women With SchizophreniaExpanding on the studies presented at the 1st World Congress on Women's Mental Health, new strategies for the management of women with schizophrenia were discussed. These include female-specific and individually tailored medication prescriptions, recognition of hormonal influences, the use of hormonal adjuncts, consideration of service delivery methods, and the development of better psychosocial rehabilitation programs to better meet women's needs. In more detail: Antipsychotic drugs are currently prescribed in standard doses, although women generally weigh much less than men and should be prescribed lower doses. Tailoring the dose of medication for weight and hormone effects would result in fewer side effects, better treatment adherence, and therefore better outcome in the longer term. Also, many women present with coexisting symptoms of depression or mania and psychosis. Hence, a tailored combination of antipsychotic drug plus mood-stabilizer may achieve better results for women with schizophrenia. Sex hormones play a major role through their effects on central brain neurotransmitters and may be an important key to the etiology of schizophrenia. The recognition of such hormonal influences during monthly cycles or at key lifetime hormonal events such as menopause in women may also lead to more effective treatments such as preventive ERT. Addition of estrogen to antipsychotic drug treatment may improve psychotic symptoms as well as assist with the management of hyperprolactinemia caused by some antipsychotic drugs. Currently, the mode of service delivery for people with schizophrenia comprises both inpatient wards and community- or home-based treatment. Women with established schizophrenia tended to obtain treatment later than men and were often sicker and required longer, more expensive inpatient treatment. In view of the female patients' better GAF scores and interpersonal relationships, it was thought that a home-based treatment model may suit women better. A poster presented by Bornheimer and Diethelm,[21] from Frankfurt, Germany, also described better outcomes for female patients treated at home, particularly with respect to women who have children. Finally, a yet-to-be-developed but much needed treatment strategy for women with schizophrenia is a female-specific psychosocial rehabilitation program. Such a program needs to incorporate psychotherapy designed to specifically help women patients and proven rehabilitation for women who are mothers and for women who want to return to or begin a career outside their homes. Female-focused rehabilitation would enable women with schizophrenia to capitalize on their current strengths and improve their quality of life after their psychotic symptoms improve.
References1. Goldstein JM, Lewine RRJ. Overview of sex differences in schizophrenia: where have we been and where do we go from here? In: Castle D, McGrath J, Kulkarni J, eds. Women and Schizophrenia. Cambridge, UK: Cambridge University Press; 2000. 2. Seeman M, Lang M. The role of estrogens in schizophrenia gender differences. Schizophr Bull. 1990;16:185-194. 3. Hafner H, Riecher A, Maurer K, et al. How does gender influence age at first hospitalization for schizophrenia? A transnational case register study. Psychol Med. 1989;19:903-918. 4. Hafner H, Maurer K, Loffler W, et al. The ABC Schizophrenia Study: a preliminary overview of the results. Soc Psychiatry Psychiatr Epidemiol. 1998;33:380-386. 5. Maurer K. Overview of the oestrogen protection hypothesis in schizophrenia 2001 [abstract S47]. Archives of Women's Mental Health. 2001;3(suppl 2):10. 6. Behrens S, Hafner H, De Vry J, Gattaz WF. Estradiol attenuates dopamine-medicated behaviour in rats. Implications for sex differences in schizophrenia. Schizophr Res. 1992;6:114. 7. Di Paolo T, Payet P, Labrie F. Effect of prolactin and estradiol on rat striated dopamine receptors. Life Sci. 1982;31:2921-2929. 8. Clopton J, Gordon JH. In vivo effects of estrogen and 2-hydroxy estradiol on D-2 dopamine receptor agonist affinity states in rat striatum. J Neural Transm. 1986;66:13-20. 9. Fink G, Sumner B, McQueen J, Wilson H, Rosie R. Sex steroid control of mood, mental state and memory. Clin Exp Pharmacol Physiol. 1998;25:764-765. 10. Fink G, Sumner B, Rosie R, Wilson H, McQueen J. Androgen actions on central serotonin neurotransmission: relevance for mood, mental state and memory. Behav Brain Res. 1999;105:53-68. 11. Fink G. Oestrogen-serotonin link: effects on mood, mental state and memory. Presentation at 1st World Congress on Women's Mental Health; March 27-31, 2001; Berlin, Germany. 12. Riecher-Rossler A, Hafner H, Maurer K, Stummbaum M, Schmidt R. Schizophrenic symptomatology varies with serum estradiol levels during menstrual cycle. Schizophr Res. 1992;6:114-115. 13. Riecher-Rossler A. Oestrogens and schizophrenia -- a brief overview. Presentation at 1st World Congress on Women's Mental Health; March 27-31, 2001; Berlin, Germany. 14. Seeman MV. Interaction of sex, age and neuroleptic dose. Compr Psychiatry. 1983;24:125-128. 15. Kulkarni J. Clinical adjunctive trials of estrogen in women with schizophrenia. Presentation at 1st World Congress on Women's Mental Health; March 27-31, 2001; Berlin, Germany. 16. Kulkarni J, de Castella A, Reidel A, Taffe J, Burger H, Fitzgerald P. Estrogen -- a potential treatment for schizophrenia. Schizophr Res. 2001;4. In press. 17. Sherwin B. Estrogen and cognitive functioning in postmenopausal women [abstract S228]. Archives of Women's Mental Health. 2001;3(suppl 2):50. 18. Kulkarni J. Gender differences in the quality of life of people with schizophrenia. Presentation at 1st World Congress on Women's Mental Health; March 27-31, 2001; Berlin, Germany. 19. McGorry P. Early psychosis -- gender aspects of treatment. Presentation at 1st World Congress on Women's Mental Health; March 27-31, 2001; Berlin, Germany. 20. Kinon B. Prevalence of hyperprolactinemia in a large cohort of schizophrenic patients treated with conventional antipsychotic drugs or risperidone [abstr S185]. Archives of Women's Mental Health. 2001;3(suppl 2):41. 21. Bornheimer B, Diethelm A. Psychiatric home treatment -- a new service preferably for women (?) [abstract P280]. Archives of Women's Mental Health. 2001;3(suppl 2):62

SCHIZOPHRENIA

What is schizophrenia?
· Schizophrenia is a complex mental health problem, which can manifest itself in a number of ways. Commons experiences of schizophrenia may include hallucinations (usually auditory but can affect four senses - auditory, visual, olfactory and taste), delusions (a false but unshakeable belief which is not shared by others from the same cultural group but is real to the individual), disturbances of thought and communication, or withdrawal. Not everyone diagnosed with schizophrenia will experience all of these symptoms.

· Schizophrenia affects different people in different ways. Some people become ill quite suddenly, for others, the change is gradual and person may show signs of withdrawal or self-neglect.

· Generally, getting appropriate care and treatment for schizophrenia as soon as possible after symptoms appear results in a greater chance of a good recovery. Reducing stigma associated with the symptoms of schizophrenia has been shown to increase the numbers of people seeking help earlier.

· Some people find that medication helps but acceptance and support from the community at large, as well as good community care services, are vital in promoting the wellbeing of people with schizophrenia.

· At times, some people with schizophrenia may require hospital care however, most live in their own homes in the community.

Who is commonly affected by schizophrenia?
Schizophrenia can affect people of either gender, of any age and from any background. People usually become unwell for the first time in early adulthood. The first contact with mental health services is most commonly between the ages of 25 and 35, but can be at a much younger age.


Myths about schizophrenia

· Schizophrenia is not a split personality, nor does the behaviour of people with this diagnosis swing dramatically between ‘normal’ and dangerous. People with schizophrenia are rarely dangerous, but are experiencing things that can be extremely unpleasant and frightening for them.

· People with schizophrenia can and do lead productive lives. Though living with schizophrenia can be a devastating and disabling experience, many people are for example, able to take higher degrees, take on complex employment challenges, and raise a family.

The statistics

· Schizophrenia is both serious and relatively common. The lifetime risk of developing schizophrenia is about 1 in 100 across all nations and all cultures. In Scotland, for every 100,000 people, 20 new diagnoses of schizophrenia can be expected each year, almost always in young people in their teens and early twenties. This equates to about 1,000 young Scots every year.

· The outlook for people with schizophrenia varies. One in four people will recover within five years of their first episode of schizophrenia. Two out of three will get better but will still have some symptoms and will have times when their symptoms get worse. Around one in five will continue to experience symptoms that will continue to interfere with their lives.

· About 10% of people with schizophrenia end their lives by suicide.

Where can I go for more information about it?
For further information on schizophrenia, visit www.nsfscotland.org.uk or see the links section of the ‘see me’ website (www.seemescotland.org)

Causes of Schizophrenia

· Genetics
· Diathesis-stress (model)
· Drug use – cannabis
· Family background/history
· Cognitive deficit
· Social background
· Brain chemistry – dopamine (hypothesis)
· Labelling – Social constructionism
· Brain structure

Biological Explanations
47% concordance rate of schizophrenia in monozygotic twins
Around 3-6 months of foetal development, synaptic structures develop – critical period

Cognitive Explanations
Overreacting in situations
Delusions
Incoherent speech
Disturbance in speech

Cognitive Deficit
Definition – A lack of cognitive skills, impairments in thought processes such as perception, memory, and attention. As well as auditory and visual information processing.

Some of the above examples have been put forward as explanations to schizophrenia.

This theory helps to explain paranoid delusions, as schizophrenics misinterpret what is actually harmful or a hazard, for something that is harmless and vice versa.

Conclusions that can be gathered from this are:
Deficits when processing information, often result in the prevailing symptoms
If the patient already has a deficit, of some sort, they will find it much harder to cope in stressful situations.
Emotional pressure often leads to further cognitive deficits.

Evaluation points are:
The approach does not explain the underlying causes of deficits. This means researchers often end up turning to alternative models (e.g. biological)

Psychodynamic Explanations
Difficulties in distinguishing between self and external world – Regression




Behavioural Explanations
Labelling – will live up to their label
+ve / -ve reinforcement
Abnormal behaviour – depends on your own perceptions?

Symptoms of Schizophrenia
DSM-IV / ICD-10 are used to diagnose schizophrenia, which contains many of the following symptoms:
· Inappropriate use of words –
· Poverty of thought – not much thought processing going on, or is it just the inability to express them?
· Hallucinations – illusions of seeing or hearing things
· Apathy – often show a lack of interest or concern on a matter.
· Delusions – have a false belief or impression about something.
· Inadequate ego boundaries – Conflict between the Super Ego and the Id, Super Ego wins
· Catatonic behaviour – being able to maintain a body posture for long periods of time.
· Emotional blunting – show apathy and have no or little facial expressions.
· Incoherent speech – not very structured speech, often jumping from topic to topic in a conversation.
· Motor function – unpredictable behaviour
· Emotional liability – When in a strong relationship with someone and something goes wrong they blame themselves for it all.
· Depersonalisation – Believe mind and body are separate
· Word salad – using random words in places



Explanations of Schizophrenia
Class discussion

Genes
· 1 gene can cause schizophrenia
· 60% of factors are due to genetic factors
· Monozygotic twins have highest chance of developing schizophrenia
· Children of schizophrenic parents are 40-50% likely to develop schizophrenia
· Studies from other countries show different concordant results. ( ethnocentrism)
· Schizophrenia has a high inheritance rate
· Chromosome 5, 11, 22, 24 tend to be linked to schizophrenia. (Ethical issues). Results of experiments are inconclusive because so many genes are involved.
· Hesten – Adopted children have same risk of developing schizophrenia as biological children.
· If schizophrenia is purely genetic then why isn’t there a 100% concordance rate rather than 48%



Brain Structure
· With monozygotic twins, often the 1st twin gets more of the nutrients form the placenta than the 2nd twin. This results in 2nd twin having an underdeveloped cortex
· Which came 1st the abnormality of schizophrenia?
· No direct evidence may cause demand characteristic under experimental situations.
· Can help people to come to terms with it and understand it.

Dopamine
· Could be due to over sensitive receptors?
· Biological explanations are limited by technological advancements.
· Brain evolves over time

Family Systems Theory
· Yields rich qualitative data
· Although often poses ethnocentrism
· On fine lines with ethical issues.

การพยาบาลทารกที่มีความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ

สุชีวา วิชัยกุล

การพยาบาลทารกที่เกิดจากมารดาเป็นโรคเบาหวาน

ทารกที่เกิดจากมารดาเป็นโรคเบาหวานจะพบว่ามีอัตราเสี่ยงสูงต่อความพิการแต่กำเนิดสูง และพบภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดได้สูงมากกว่าทารกปรกติทั่วไป มารดที่ป่วยเป็นเบาหวานจึงมีความจำเป็นที่จะต้องได้รับการรักษาที่ถูกต้องเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้คงที่ เนื่องจากการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงในมารดาจะส่งผลให้ตับอ่อนในทารกสร้างอินซูลินขึ้นมามากกว่าปกติ เพื่อควบคุมน้ำตาลในกระแสเลือดทารกเอง ผลที่ตามมาคือน้ำตาลในอวัยวะต่างๆถูกเปลี่ยนไปเป็น ไกลโคเจนส่งผลให้กลัยโคเจนสูงขึ้น ทำให้โปรตีนสะสมในอวัยวะต่างๆมากขึ้น ส่งผลให้อวัยวะต่างๆทารกมีขนาดใหญ่กว่าปกติ การหลั่งของอินซูลินที่สูงอยุ่ตลอดเวลาเมื่อทารกคลอดออกมาและถูกตัดขาดระบบไหลเวียนจากมารดาโดยสิ้นเชิง จะส่งผลทำให้ทารกเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดได้สูง ภาวะที่พบได้บ่อยคือ Hypoglycemia น้ำตาลในเลือดต่ำ

การวินิจฉัย
ตรวจน้ำตาลในกระแสเลือดภายใน 6 ชั่วโมงหลังคลอด ต่ำกว่า 30mg/dl

อาการแสดง
รูปร่างใหญ่ ยาว อ้วน แก้มอูม ทารกจะมีน้ำหนักแรกเกิดมากกว่าปกติ เกิน 4000 กรัม
ทารกที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำจะพบอาการ ซึม ดูดนมไม่ได้ เหงื่อออก ตัวเย็น หายใจเร็ว อาจเขียวตัวอ่อนปวกเปียก
อาการแสดงจากความผิดปรกติแต่กำเนิด ทารกจะมีความพิการแต่กำเนิดสูงกว่าทารกปกติได้ถึง 3 เท่า ส่วนใหญ่จะพบความผิดปกติที่ระบบหัวใจ พบว่าจะมีหัวใจโต ร้อยละ 5-10 และความผิดปกติของกระดูก
อาการแสดงของภาวะ RDS ทารกจะมีภาวะหายใจลำบาก จากผลของอินซูลินที่มีผลต่อ คอร์ติซอลในการสร้าง surfactant
อาการแสดงของภาวะ Hyperbilirubinemia ทารกจะมีอาการตัวเหลืองเนื่องจากการแตกของเม็ดเลือดแดงร่วมกับการ catabolism ของ Heme
อาการแสดงของ Renal vein thrombosis ทารกจะมีก้อนในท้องข้างเอว ร่วมกับถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด เกร็ดเลือดต่ำ สาเหตุจาก Polycythemia
อาการแสดงของ Hypocalemia ทารกจะไวต่อการกระตุ้น และชักได้

การรักษา
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดโดยการให้ Glucose ในเลือด หรือ 5% glucose ในน้ำ 3 ชั่วโมงหลังคลอด ตามด้วยนม ทุก 2 ชั่วโมง
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด เช่นภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
ตรวจสอบสัญญาณชีพทุกชั่วโมงจนกว่าจะคงตัว
รักษาภาวะแทรกซ้อนอื่นๆที่พบ เช่นแคลเซี่ยมต่ำ RDS ติดเชื้อ บิลิรูบินสูง เป็นต้น
เจาะเลือดดูผล DTX ทุก 12 ชั่วโมง

การพยาบาลทารกที่มีความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์
เป็นความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์ส่งผลให้ทารกมีความผิดปกติของการสร้างไธรอกซินฮอร์โมน ทำให้ทารกเกิดความผิดปกติในการสร้างอวัยวะต่างๆของร่างกายเกิด ความพิการหรือผิดปกติแรกคลอดได้

สาเหตุ
· ภาวะไฮโปธัยรอยด์ดิสซึ่ม ปฐมภูมิ
ความผิดปกติในการเกิดต่อมธัยรอยด์ อาจพบได้ตั้งแต่ไม่เกิดขึ้น (aplasia) เกิดไม่สมบูรณ์(hypoplasia) ส่งผลให้เกิด ครีตินิสซึ่ม ประมาณร้อยละ 80
ความผิดปกติทางพันธุกรรมในการสังเคราะห์ การหลั่ง และการใช้ธัยรอยด์ฮอร์โมน autosomal recessive พบร้อยละ 10-15
มารดาได้รับสารก่อคอพอก เช่นไอโอดีนมากเกินขนาดจากยาขับเสมหะบางชนิด ยารักษาโรคหอบหืด ยาต้านธัยรอยด์ และการรักษาจากไอโอดีนกัมมันตภาพรังสี
ภาวะขาดสารไอโอดีนประจำถิ่น เช่นในภาคเหนือของไทย
ธัยรอยด์อักเสบจากออโตอิมมูนในทารกแรกเกิด เกิดจากการที่มารดาเป็นธัยรอยด์อักเสบอาจทำให้ทารกเป็นคริตินิสซึ่มได้
· ไฮโปธัยรอยด์ดิสซึ่มจาก ไฮโปธาลามัสหรือต่อมพิทูอิทารี่
เช่น Pituitary aplasia Septo-optic dysplasia
· เกิดจากมารดาที่ทานยารักษาธัยรอยด์เป็นพิษ และได้ยารัษาพวก PTU และ Methimazole ซึ่งยาจะผ่านทางรกไปสู่ลูกได้ ผลที่เกิดขึ้นกับทารกแรกเกิดคือ ทารกจะมีอาการไฮโปธัยรอยด์(Hypothyroidism) ซึ่งจะมีผลต่อพัฒนาการเด็กต่อไป

อาการแสดง
ทารกมักจะคลอดเกินกำหนด มีน้ำหนักตัวปกติหรือมากกว่าปกติ กระหม่อมหลังกว้างกว่า5 มม. ตัวลาย ( motting) ลิ้นโตคับปาก สะดือจุ่น ร้องเสียงแหบ ตัวเหลือง ซึม บางรายอาจมี อาการหายใจลำบาก ท้องผูก ไม่ค่อยดูดนม ไม่เติบโต ไม่มีพัฒนาการ
เมื่อทารกโตขึ้นจะมีลักษณะจำเพาะคือ หน้าตาไม่น่ารัก จมูกแฟบ ตาห่าง หน้าตาบวม ลิ้นโต หน้าผากย่นและชายผมต่ำ ผิวหนังซีดเย็น ผิวลาย คอเป็นหนอก สะดือจุ่น แขนขาสั้น นิ้วสั้นกว้าง ชีพจรช้า เคลื่อนไหวช้า ตอบสนองช้า
ทารกที่มารดาเป็นธัยรอยด์เป็นพิษขณะตั้งครรภ์จะส่งผลให้ทารกมีภาวะธัยรอยด์เป็นพิษหลังคลอดได้ จะส่งผลให้ทารกมีอาการ ตาโต คอโต ผอม หัวใจเต้นเร็ว น้ำหนักตัวไม่ขึ้น มีเหงื่อออกมาก และอาจหัวใจวายได้

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ Total T 2 ต่ำกว่า 6 ไมโครกรัม/ดล.
TSH สูงกว่า 20 ไมโครยูนิต/ดล.
T3,T4 ต่ำกว่า 6.5 ไมโครกรัม/ดล.
Glycogen สูง
Bilirubin สูง

การรักษา
ให้ยาควบคุมระดับฮอร์โมน Na-L-T4 100 ไมโครกรัม/พื้นที่ผิวกาย 1 ตารางเมตร

การพยาบาล
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
การพยาบาลตามอาการ
การพยาบาลป้องกันโรคแทรกซ้อน
Neonatal Hyperparathyroidism

สาเหตุ มีการหลั่งของฮอร์โมนเกินจากต่อมพาราธัยรอยด์ เนื่องจากอาจมีพยาธิสภาพที่ต่อมพารา
ธัยรอยด์ ซึ่งอาจเกิดจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม หรือปัจจัยอื่นที่ทำให้ต่อมพาราธัยรอยด์ทำงานมากผิดปกติ หรือภาวะแคทเซี่ยมในมารดาต่ำเป็นเวลานาน มี3 ชนิดคือ
1. ชนิดปฐมภูมิ
2. ชนิดทุติยภูมิ
3. ชนิดตติยภูมิ

อาการ

ทารกจะมีกล้ามเนื้อตึงตัวน้อย ไม่ค่อยดูดนม น้ำหนังตัวลด ท้องผูก แสดงของอาการขาดน้ำ ร้องกวน ซีด และหายใจลำบาก การตรวจเลือดพบ แคลเซี่ยมในซีรั่มสูง อาจสูงถึง 29 มก./ดล

การรักษา

รักษาด้วยยาเสียรอยด์ ถ้าเป็นปฐมภูมิต้องรักษาด้วยการผ่าตัด

การพยาบาล

สังเกตอาการแทรกซ้อน สัญญาณชีพ ดูที่ชนิดและสาเหตุ รักษาแบบประคับประคอง และตามอาการ

Adrenal Insufficiency

คือภาวะที่เปลือกต่อมหมวกไต(Adenal cortex)ทำงานได้ไม่เพียงพอ ทำให้ร่างกายขาดฮอร์โมนคอร์ติซอลและอัลโดสเตอโรน


สาเหตุของการขาดCortisal and Aldosterone
· Congenital adrenal hypoplasia
· Congenital adrenal hyperplasia:AG syndrome พบบ่อยที่สุด
· ภาวะเลือดออกที่ต่อมหมวกไต

สาเหตุของการขาดCortisal
· Hypopituitarism
· Isolate ACTH deficiency
· Congenital ACTH unresponsiveness

อาการแสดง
อาเจียน ดูดนมได้ไม่ดี มีภาวะขาดน้ำ มีไข้เป็นพักๆ อาจชักเพราะน้ำตาลในเลือดต่ำ หรือโซเดียมต่ำ โปแตสเซี่ยมสูงในเลือด ชีพจรเบา ช็อค อาจถึงตายได้

การวินิจฉัย ตรวจะระดับคอร์ติซอลในเลือด หรือ response ต่อ ACTH

การรักษา
รักษาตามอาการหรือสาเหตุที่พบ และให้คอร์ติซอล

การพยาบาล
สังเกตุอาการผิดปกติอย่างใกล้ชิด และอาการแทรกซ้อนจากการให้ คอร์ติซอล

ก้าวทันมะเร็ง

Comet assayเทคนิคทดสอบสารก่อมะเร็ง และสารกลายพันธ์
เป็นที่ทราบกันดีว่าโรคมะเร็งเป็นสาเหตุของการตายอันดับต้นๆ ของประเทศไทยและหลายประเทศทั่วโลกเนื่องจากการวินิจฉัยกินเวลานานหลายปี ดังนั้น เมื่อตรวจพบโรคก็จะเข้าสู่ระยะแพร่กระจาย (metastasis) ไปแล้ว แต่ปัจจุบันมีเทคนิค Comet assay ซึ่งเป็นวิธีการทดสอบสารก่อมะเร็งและสารกลายพันธุ์ ที่มีความแม่นยำและยังช่วยลดการนำสารพิษที่ก่อให้เกิดการ
กลายพันธ์เข้าสู่ร่างกาย ซึ่งทางสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) สามารถพัฒนาเทคโนโลยีดังกล่าวได้เป็นผลสำเร็จ
“เทคนิค Comet assay เป็นเทคนิคทดสอบที่มีประสิทธิภาพสูง ใช้ทดแทนการทดสอบฤทธิ์การก่อกลายพันธุ์และก่อมะเร็งในสัตว์ทดลอง โดยที่ผ่านการทดสอบว่าสารตัวใดมีความเป็นพิษหรือไม่ จะใช้วิธีป้อนสารเหล่านั้นให้สัตว์ทดลอง ซึ่งใช้สัตว์ประมาณ 50 ตัว ใช้เวลานาน 14 วัน และการทดลองในสัตว์ทดลองเราจะไม่รู้กลไกในการเกิด แต่การทดสอบด้วยวิธีนี้สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า และทราบถึงกลไกในการเกิด ทั้งยังบอกได้ว่าการผิดปกติเกิดขึ้นในระดับใด ซึ่งในอนาคตการทดสอบที่ไม่ซับซ้อนอาจจะใช้สัตว์ทดลองน้อยลง แต่สำหรับการวิจัยทางแพทย์ยังคงต้องใช้สัตว์ทดลองอยู่ เพราะไม่สามารถทดลองในเซลล์เพาะเลี้ยงได้”
“เทคนิคนี้สามารถตรวจวัดการทำลาย DNA ในระดับเซลล์เดี่ยว ๆ และเซลล์จากอวัยวะต่างๆ มีความแม่นยำสูง ใช้เวลาทดสอบสั้นมาก อาศัยการวิเคราะห์ผลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ทำให้ทราบผลได้ภายในไม่กี่ชั่วโมง ทั้งยังเป็นที่ยอมรับในระดับสากล เป็นประโยชน์ต่อการทดสอบสารปนเปื้อนเพื่อขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์ ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบริโภคสารเคมี ลดการกีดกันทางการค้าจากต่างประเทศ นอกจากนี้ ยังนำมาประยุกต์ใช้ได้ในงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เช่น การทดสอบประสิทธิภาพของการใช้ยารักษามะเร็ง งานเฝ้าระวังด้านสุขภาพ งานประเมินการปนเปื้อนของสารพิษในสิ่งแวดล้อม”
ไอระเหยจากน้ำมันเบนซินอาจกระตุ้นความเสี่ยงมะเร็งเม็ดเลือดในเด็ก
ผลการศึกษาขั้นต้นโดยนักวิจัยจาก French National Institute of Health and Medical Research ระบุว่า การสัมผัสไอระเหยจากน้ำมันเบนซินอาจเป็นสาเหตุให้เกิดโรคมะเร็งเม็ดเลือดชนิดเฉียบพลันในเด็กรวมทั้งผู้ใหญ่ที่ต้องสูดไอน้ำมันจากการทำงาน
จากการสอบประวัติพบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่อายุระหว่าง 2-6 ปี และไม่พบความสัมพันธ์อาชีพของมารดาระหว่างตั้งครรภ์ ความหนาแน่นของการจราจรในย่านที่อยู่อาศัย และความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งเม็ดเลือด
ผลการศึกษาซึ่งรายงานในวารสาร Occupational and Environmental Medicine ยังชี้ว่าเด็กที่บ้านอยู่ใกล้ปั๊มน้ำมันหรืออู่ซ่อมรถกลับมีความเสี่ยงต่อมะเร็ง โดยเฉพาะมะเร็งเม็ดเลือดชนิดเฉียบพลันสูงกว่าเด็กที่อยู่ห่างปั๊มหรืออู่ถึง 4 เท่า
ผู้เชี่ยวชาญได้ออกมาให้ความเห็นต่อการศึกษาครั้งนี้ว่าจำเป็นที่ต้องหาหลักฐานเพิ่มเติมที่จะสามารถชี้ผลกระทบของเบนซินต่อความเสี่ยงมะเร็งเม็ดเลือดชนิดเฉียบพลัน โดยเฉพาะ ขนาดของไอระเหยจากเบนซินและระยะเวลาที่ได้รับไอระเหยจากน้ำเบนซิน ซึ่งสอดคล้องกับทัศนะของผู้วิจัยที่เสนอให้มีการศึกษาเพิ่มเติมที่ใหญ่ขึ้นเพื่อวิเคราะห์อันตรายจากไอระเหยจาก
น้ำมันเบนซินที่อาจมีผลต่อเด็ก
Combo Therapy ยับยั้งมะเร็งในสมอง
นักวิจัยจาก Cedars-Siai Medical Center รายงานในวารสาร Clinical Cancer Reseach ถึงการรักษาด้วยวิธีอิมมูโนบำบัดควบเคมีบำบัด สามารถชะลอการดำเนินโรคและยืดระยะการรอดชีวิตในผู้ป่วยมะเร็งในสมองชนิด Glioblastoma mulyiforme
รายงานระบุว่า การทำอิมมูโนบำบัดควบเคมีบำบัดสามารถยืดการรอดชีวิตของผู้ป่วยให้ยาวนานถึง 26 เดือนเทียบกับกลุ่มที่รักษาด้วยวิธีอิมมูโนบำบัดอย่างเดียวที่มีระยะการรอดชีวิตเฉลี่ย 18 เดือน และกลุ่มเคมีบำบัดซึ่งเฉลี่ย 16 เดือน
จากการศึกษายังพบว่าผู้ป่วยกว่าครึ่งในกลุ่มที่ได้รับการรักษาควบมีชีวิตรอดนานกว่า 2 ปี ซึ่งอัตราส่วนดังกล่าวสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยอิมมูโนบำบัดหรือเคมีบำบัดอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ ในกลุ่มที่ได้รับการรักษาควบยังพบผู้ป่วยที่มีชีวิตรอดเกิน 3 ปี ซึ่งไม่พบในผู้ป่วย 2 กลุ่มหลังเลย
นักวิจัยเปิดเผยว่าในขณะนี้ยังไม่ทราบชัดเจนว่าการรักษาควบมีผลอย่างไรบ้าง แต่ในเบื้องต้นเชื่อว่าอาจเป็นเพราะการทำอิมมูโนบำบัดมีผลมะเร็งอ่อนแอลงทำให้ตอบสนองต่อเคมีบำบัดในขั้นที่สองได้ดี

ชุดคำถามเพื่อการเพิ่มพูนความรู้สำหรับผู้ประกอบวิชาชีการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่งสาขาสัตว์เลี้ยง

เรื่อง เบาหวาน
เบาหวานในแมวมักเป็น type II DM นั่นคือ มีการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์เริ่มลดลง และการตอบสนองก็จะไม่ดี ดังนั้นเบาหวานชนิดการให้อินซูลินจากภายนอกในระยะแรกจะไม่ตอบสนองมากนักเรียกว่า non-insulin dependent diabetes mellitus (NIDDM) การรักษาในระยะแรกอาจต้องให้ยาที่กินเพื่อไปกระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ ส่วนของสุนัขจะเป็นชนิด type I DM คือ เบต้าเซลล์ไม่สร้างฮอร์โมนอินซูลินแล้ว แต่การตอบสนองของอินซูลินยังดีอยู่ ดังนั้นการรักษาจึงให้ฉีดอินซูลินจากภายนอกจะทำให้น้ำตาลในเลือดลดลงได้ จึงเรียกว่า Insulin dependent diabetes mellitus (IDDM) ส่วนข้ออื่น ๆ ไม่ถูกต้องเพราะในสุนัขกับแมวจะเป็นเหมือนกัน และปฏิบัติเหมือนกัน และเบาหวานในแมวอาจเป็นชั่วคราว แต่ของสุนัขมักเป็นแบบถาวร กลูโคสในเลือดบางครั้งจะสูงในแมวที่มีภาวะเครียด พบว่าแมวอาจเป็นเบาหวานชั่วคราวได้ เป็นแบบ reversible ทำให้ต้องลดปริมาณอินซูลินที่ฉีดหรืออาจไม่ต้องฉีดอีกก็ได้
ในสุนัขที่เป็นเบาหวานมักจะมีอาการกินน้ำเก่ง ปัสสาวะมาก และอาจกินอาหารมากกว่าเดิม เจ้าของมักจะพามาหาสัตวแพทย์ เมื่อสุนัขมีอาการเดินชนหรือคล้ายมองไม่เห็น ทั้งนี้เนื่องจากกลูโคสในเลือดสูงมาก จะทำให้เกิดต้อกระจก (cataract) ได้ ในสุนัขมักไม่พบดีซ่าน แต่พบว่าเอนไซม์ของตับ (SGPT) มักเพิ่มสูงกว่าปกติ อาการที่พบในแมวส่วนใหญ่คือ ความผิดปกติของเส้นประสาทส่วนปลายทำให้แมวเดินผิดปกติ โดยใช้ส่วนปลายของขาหลังแนบไปกับพื้น มักไม่พบ cataract อาจพบตับโตและดีซ่านได้
การพบคีโตนบอดี้ร่วมกับภาวะเบาหวาน พบว่าเกิดจากเมตาบอลิสมของไขมันสูง ทำให้มี Acetyl CoA เพิ่มสูงขึ้น และจะมีการสร้างคีโตนบอดี้ คือ acetoacetic acid, beta-hydroxybutyrate และ acetone ตามมา ซึ่งสารดังกล่าวเป็นกรด จะทำให้เกิดภาวะกรดเกิน (acidosis) จะมีการขับคีโตนบอดี้ทิ้งทางปัสสาวะ ร่วมกับการขับทิ้งกลูโคสและอิเลคโทรไลต์ ทำให้มีการขับปัสสาวะมากขึ้น เกิดภาวะขาดน้ำ (dehydration) และเลือดมีความเข้มข้นเพิ่มขึ้น สารคีโตนจะขับทิ้งทางลมหายใจทำให้ได้กลิ่นคีโตนด้วย เนื่องจากสารคีโตนมีประจุลบ และเป็นกรด เมื่อคีโตนบอดี้เพิ่มขึ้นและ HCO3_ลดลง ดังนั้น
[(Na+ + K+) – (Cl_ + HCO3_ )] หรือ anion gap ซึ่งตรวจจากผลปฏิบัติการทางคลินิกจึงมีค่าเพิ่มขึ้น
ปกติกลูโคสจะกรองผ่านกลอเมอรูลัส โดยกลูโคสที่กรองผ่านไตจะถูกดูดกลับโดยเซลล์ท่อไตที่ proximal tubule ได้หมด ไม่เหลือทิ้งในปัสสาวะ การดูดกลับอาศัยตัวนำ (carrier) เมื่อกลูโคสที่กรองผ่านเพิ่มสูงขึ้นอีก จนตัวนำเกิดการอิ่มตัว จะมีกลูโคสเหลือทิ้งทางปัสสาวะ ค่ากลูโคสต่ำสุดในพลาสม่าที่สามารถตรวจพบกลูโคสในปัสสาวะได้เรียกว่า renal plasma threshold ของกลูโคสซึ่งในสุนัขมีค่า 180-220 mg% ส่วนในแมวมีค่า 290 mg% ในสุนัขที่เป็นเบาหวาน การควบคุมโรคโดยอินซูลินจะทำให้กลูโคสในพลาสม่าลดลง โดยจุดต่ำสุดจะต่ำกว่า renal plasma threshold แต่เมื่อทิ้งเวลาไปจนถึงเวลาฉีดอินซูลินซ้ำ พบว่ากลูโคสในเลือดจะสูงกว่า 250 mg% ซึ่งเกิน renal plasma threshold ดังนั้นระยะเวลาดังกล่าวจะพบกลูโคสในปัสสาวะได้ สุนัขที่เป็นเบาหวานจึงพบกลูโคสในปัสสาวะเป็นบางเวลา ส่วนการพบกลูโคสในปัสสาวะในรายที่ไม่ได้เป็นเบาหวาน โดยกลูโคสในเลือดไม่สูงพบได้ ซึ่งสาเหตุมาจากไตผิดปกติดูดกลับกลูโคสได้ไม่หมด
ในการรักษาเบาหวาน จะต้องทำการฉีดอินซูลิน โดยจะเลือกชนิดอินซูลินขนาดของอินซูลิน และจำนวนครั้งที่ฉีด ซึ่งขึ้นกับระดับกลูโคส ชนิดของเบาหวาน และการตอบสนองภายหลังการฉีด สัตวแพทย์จะต้องทำ glucose curve เสมอในครั้งแรกที่ฉีดอินซูลิน (เจาะเลือดหาระดับกลูโคสหลังฉีดทุก 2 ชม. จนกว่ากลูโคสที่ต่ำลงจะกลับสูงขึ้นมาอีก) โดยจะทำการฉีดครั้งต่อไปเมื่อกลูโคสในเลือดขยับสูงขึ้นเกิน 250 mg% นอกจากนี้ต้องติดตามผลของกลูโคสภายหลังฉีดเป็นระยะ เนื่องจากสมดุลกลูโคสจะเกิดเมื่อฉีดอินซูลินไปแล้ว 1 สัปดาห์ ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงการฉีดควรรอเวลา 1 สัปดาห์ แล้วกลับมาตรวจกลูโคสขณะอดอาหารก่อนฉีดอินซูลิน (fasting blood glucose) ใหม่ ในกรณีที่ฉีดอินซูลินมากไปพบว่ากลูโคสในเลือดจะลดต่ำมาก เช่น ต่ำลงเหลือ 20-30 mg% ซึ่งจะมีการกระตุ้นฮอร์โมนหลายชนิด ช่วยดึงกลูโคสให้เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เรียก Somogyi phenomenon ดังนั้นถ้ากลูโคสสูงขึ้นภายหลังอินซูลินให้พิจารณาลดขนาดอินซูลินก่อน
ภาวะ insulin resistance เกิดได้ในสุนัขที่มี cortisol สูงคือภาวะ cushing syndrome พบได้ในแม่สุนัขที่กำลังท้อง และในสุนัขเพศเมียที่อยู่ในระยะ diestrus มีรายงานการเกิดการดื้อของอินซูลินในรายโรคไต โรคตับและสุนัขแก่มีอุบัติการณ์มากกว่าปกติ
สุนัขและแมวที่เป็นเบาหวานจะกินน้ำเก่ง และปัสสาวะเก่ง ถ้าคุมด้วยอินซูลิน การกินน้ำจะลดลง ปัสสาวะจะไม่มากเหมือนตอนเป็น เบาหวาน เจ้าของควรคุมอาหารให้มีคุณภาพใกล้เคียงกันทุกวัน และสัตว์ควรมี activity หรือออกกำลังกายใกล้เคียงกัน ควรชั่งน้ำหนักเป็นประจำด้วย เพื่อดูว่ามีน้ำหนักเปลี่ยนแปลงหรือไม่ สิ่งสำคัญที่สุดคือ ถ้าฉีดอินซูลินเจ้าของต้องสังเกตอาการกลูโคสในเลือดต่ำ เช่น ซึม เดินเซ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ถ้าเป็นมากจะล้มหมดสติ ตายได้ ถ้าอาการเกิดขึ้นภายหลังฉีดอินซูลิน 2-3 ชม. สิ่งที่ควรทำคือ ป้อนกลูโคส น้ำตาล น้ำหวาน แก่สัตว์ก่อน แล้วปรึกษาสัตวแพทย์
อินซูลินเป็นเปปไทด์ฮอร์โมนสร้างจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อน ซึ่งการเตรียมอินซูลินอาจเตรียมมาจากของสุกร คน หรือวัว ก็ได้ ในสุนัขที่ใช้คือของสุกร ซึ่งจะไม่เกิด antibody เพราะเหมือนของสุนัข ในราย diabetic ketoacidosis (DKA) อินซูลินชนิดที่ใช้คือ regular insulin ซึ่งมักต้องใช้เครื่อง infusion pump ในการให้และต้องดูแลอย่างใกล้ชิด ในสุนัขที่เป็นเบาหวานอาจมี K+ ในเลือดต่ำอยู่แล้ว เนื่องจากการเพิ่มการขับปัสสาวะทำให้ ขับ K+ ถูกขับทิ้งมากขึ้น นอกจากนี้ K+ จะต่ำลงเมื่อฉีดอินซูลิน เพราะอินซูลินจะเร่งการนำ K+ เข้าสู่เซลล์ จึงควร ระมัดระวังและตรวจค่า K+ เป็นประจำในสัตว์ที่เป็นเบาหวาน
การเก็บรักษาและขนส่งอินซูลินเป็นสิ่งสำคัญ ซึ่งจะต้องให้คำแนะนำแก่เจ้าของสัตว์ นอกจากนี้ควรสอนการเขย่าขวด การดูดยา ในการเปลี่ยนเข็มนั้น ถ้าใช้ insulin syringe ไม่ต้องเปลี่ยนเข็มเพราะจะมีเข็มติดมาอยู่แล้ว ถ้าใช้ tuberculin syringe และเปลี่ยนเข็ม ควรระวังปริมาณยาที่จะได้รับ เพราะยาอาจติดอยู่ในกะเปาะของเข็มและไม่เข้าตัวสัตว์ จึงควรอธิบายให้เจ้าของสัตว์เข้าใจ การฉีดควรให้เจ้าของบันทึกวันที่ฉีดและผู้ฉีด หรือมอบหมายบุคคลใดฉีดโดยเฉพาะเพื่อไม่ให้ฉีดซ้ำกัน และพึงระลึกไว้ว่าถ้าสัตว์ป่วยและไม่กินอาหาร กลูโคสในเลือดจะไม่สูงมากนัก จึงอาจต้องพิจารณางดฉีดอินซูลินและปรึกษาสัตวแพทย์



คำถาม
1. เบาหวานในสุนัขและแมวต่างกันอย่างไร
ก. เบาหวานในแมวจะเกิดขึ้นพร้อมกับภาวะเลนซ์ขุ่น (cataract) ทำให้แมวตาบอด
ข. การฉีดอินซูลินในแมวจะฉีดเพียงครั้งเดียวเท่านั้นต่อวัน แต่ในสุนัขฉีด 2 ครั้ง
ค. เบาหวานในแมวส่วนใหญ่ตรวจพบร่วมกับการมีคีโตนบอดี้สูงเสมอ
ง. เบาหวานในแมวมักเป็นชนิด type II diabetes mellitus คือ ตอบสนองต่ออินซูลินลดลง และการคัดหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์จะค่อย ๆ ลดลง แต่ของสุนัขจะเป็นชนิด type I diabetes mellitus คือ มีการหลั่งอินซูลินน้อยลงมากจนถึงไม่มีเลย
จ. เบาหวานในแมวจะเป็นถาวร แต่เบาหวานในสุนัขจะเป็นชั่วคราว 2-3 เดือน จะหายไปได้
2. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่สิ่งจำเพาะที่มักตรวจพบในสุนัขที่เป็นเบาหวาน
ก. กินน้ำบ่อยและมาก (polydipsia) ข. ปัสสาวะบ่อยและมาก (polyuria)
ค. น้ำหนักตัวลด ง. มองไม่เห็นเนื่องจากเป็นต้อกระจก (cataract)
จ. เป็นดีซ่าน (jaundice)
3. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับภาวะเบาหวานที่มีคีโตนบอดี้สูง (diabetes ketoacidosis ; DKA)
ก. ในราย DKA จะพบว่าถ้าตรวจ anion gap ในเลือด ([Na+ + K+] – [Cl_ + HCO3_]) จะมีค่าลดลง
ข. พวก DKA จะมีร่างกายเป็นกรด เกิด metabolic acidosis
ค. สารคีโตนบอดี้จะขับทิ้งทางปัสสาวะ เกิด ketonuria สามารถตรวจพบได้จาก urine strip
ง. ในราย DKA จะมีคีโตนบอดี้ ซึ่งเป็นสารระเหยได้ในร่างกายมาก จึงพบกลิ่นคีโตนในลมหายใจ
จ. การเกิดเบาหวานแบบ DKA จะเป็นรุนแรงกว่าเบาหวานธรรมดา เกิดการขาดน้ำ (dehydration อย่างรุนแรง
4. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการขับทิ้งกลูโคสทางปัสสาวะ
ก. ค่าต่ำสุดของกลูโคสในเลือดที่จะทำให้พบกลูโคสในปัสสาวะของสุนัข (renal plasma threshold ของกลูโคส) มีค่า 300 มก./เดซิลิตร (mg%)
ข. ปกติกลูโคสจะกรองผ่านไต และในภาวะปกติจะไม่พบกลูโคสในปัสสาวะ เนื่องจากกลูโคสถูกดูดกลับหมดจากท่อไต
ค. การตรวจพบกลูโคสในปัสสาวะ แสดงว่าสัตว์ตัวนั้นเป็นเบาหวานแน่นอน
ง. การดูดกลับกลูโคสโดยเซลล์ท่อไตใช้วิธีการแพร่ (diffusion)
จ. ในสุนัขที่เป็นเบาหวานและได้รับการควบคุมด้วยอินซูลินแล้วไม่ควรพบกลูโคสในปัสสาวะเลย






5. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการรักษาด้วยอินซูลิน
ก. ต้องเลือกใช้อินซูลินให้พอเหมาะในสัตว์แต่ละตัวตามความสามารถในการออกฤทธิ์ (potency) และระยะเวลาในการออกฤทธิ์ (duration)
ข. เลือกความถี่ของการฉีดอินซูลินโดยขึ้นกับชนิดของอินซูลิน และการตอบสนองของสัตว์แต่ละตัว
ค. ต้องทำ glucose curve (เจาะตรวจกลูโคสในเลือดทุก 2 ชม. หลังฉีดอินซูลินจนกว่ากลูโคสที่ลดลงจะกลับขึ้นสูงอีก) ในสัตว์ที่เป็นเบาหวานทุกตัว เมื่อฉีดอินซูลินครั้งแรก และติดตามผลเป็นระยะเนื่องจากต้องใช้เวลา 1 สัปดาห์จึงจะเกิดสมดุลของกลูโคส
ง. การฉีดอินซูลิน ควรฉีดในสัตว์ที่มีกลูโคสในเลือดมากกว่า 250 mg%
จ. ถ้าภายหลังฉีดอินซูลินพบว่ากลูโคสในเลือดเพิ่มสูงขึ้นกว่าก่อนฉีดให้เพิ่มขนาดอินซูลินที่ฉีด เนื่องจากขนาดอินซูลินที่ฉีดไม่พอ
6. สาเหตุใดดังต่อไปนี้ไม่ทำให้เกิดภาวะดื้อต่อการตอบสนองของอินซูลิน (insulin resistance)
ก. การมีฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต คือ คอร์ติโคสเตียรอยด์สูง หรือ hyperadrenocorticism หรือเรียกว่า กลุ่มอาการ cushing
ข. ภาวะเป็นสัด (estrus) ค. ภาวะโรคไตวายเรื้อรัง
ง. อายุมาก จ. ภาวะโรคตับที่มีค่า sGPT สูง
7. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเบาหวานในแมว
ก. มักเป็นชนิด type II DM
ข. จะเป็นเบาหวานแบบสมบูรณ์ไม่สามารถผันกลับได้ (irreversible)
ค. อาการที่พบบ่อยคือ ขาหลังไม่มีแรง เนื่องจากความผิดปกติของระบบประสาท แต่ไม่ค่อยพบภาวะ cataract เช่นเดียวกับในสุนัข
ง. ในแมวบางครั้งกลูโคสในเลือดเพิ่มสูงขึ้นไม่เกี่ยวกับการเสื่อมของเบต้าเซลล์ แต่เป็นผลจากความเครียด
จ. ค่ากลูโคสต่ำสุดในเลือดที่จะเริ่มพบกลูโคสในปัสสาวะ (renal plasma threshold ต่อกลูโคส) ในแมวคือ 290 mg% ซึ่งสูงกว่าสุนัข
8. ข้อใดไม่ถูกต้องในการแนะนำเจ้าของไข้ที่เป็นเจ้าของสุนัขและแมวที่เป็นเบาหวาน
ก. อาหารที่ให้สุนัขหรือแมวควรมีคุณภาพเหมือนกัน ในขณะที่ควบคุมด้วยอินซูลิน
ข. activity ของสัตว์ ควรจะมีการควบคุมให้พอเหมาะ มีการออกกำลังกาย โดยให้อยู่ในระดับใกล้เคียงกันทุกวัน
ค. สังเกตอาการสุนัขหลังฉีดอินซูลิน และขณะที่อยู่ที่บ้าน ถ้าสุนัขมีความผิดปกติ เช่น กล้ามเนื้อกระตุก สั่น อ่อนแรง เดินเซ แสดงว่ากลูโคสในเลือดสูงมาก ให้ฉีดอินซูลินซ้ำ
ง. ควรสังเกตอาการสุนัขและแมว ถ้าคุมเบาหวานได้ อาการกินน้ำเก่งและปัสสาวะบ่อยจะหายไป
จ. ควรชั่งน้ำหนักสุนัขเป็นประจำ


9. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอินซูลิน
ก. เป็นเปปไทด์ฮอร์โมน สร้างจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อน
ข. อินซูลินที่ฉีดเพื่อรักษาโรคเบาหวานอาจเตรียม สุกร คน หรือวัว
ค. อินซูลินในสุนัขที่ดีที่สุดคือ อินซูลินที่ได้จากสุนัขเอง
ง. regular insulin มักจะใช้ในราย diabetes ketoacidosis
จ. ภายหลังฉีดอินซูลินควรระวังโปตัสเซียมในซีรั่มต่ำด้วย
10. ข้อใดเป็นคำแนะนำที่ผิดที่สัตวแพทย์ไม่ควรแนะนำแก่เจ้าของสัตว์ที่มีสัตว์ป่วยเป็นเบาหวาน
ก. ระวังเรื่องการเก็บและขนส่งอินซูลินให้มีการเก็บในที่เย็น อุณหภูมิประมาณ 4°C ตลอด
ข. ควรเขย่าขวดก่อนจะฉีดอินซูลินเพื่อให้เข้ากันดี
ค. ถ้าลืมฉีดอินซูลินตอนเช้า ควรเพิ่มปริมาณอินซูลินเป็น2 เท่าในตอนเย็น
ง. ควรมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบฉีดอินซูลิน หรือมีการจดบันทึกการฉีดเพื่อจะไม่ฉีดซ้ำกัน
จ. ควรปรับการฉีดตามการกินอาหาร ถ้าสัตว์ไม่กินอาหาร ควรงดฉีดอินซูลินและปรึกษาสัตวแพทย์

เทคนิคการกินอย่างไร ให้ห่างมะเร็ง

แหม ไปทะเลทั้งที ขาดเมนูบาร์บีคิวไปได้อย่างไร เพราะมันทั้งสนุก แถมยังอร่อยเหมาะกับบรรยากาศชิลๆ ริมชายหาดเป็นที่สุด แต่อย่ามัวเพลินไปกับความอร่อยของมันนะ เพราะในความอร่อยนี้แหละแฝงไปด้วยภัยร้ายอย่างมะเร็ง! ที่คุณจะต้องขยาด หากใครอยากกินของย่างให้ห่างมะเร็งแบบนี้ ก็ต้องรีบมาอ่านเทคนิคเด็ดๆ ที่ 24-7 นำมาฝากซะแล้วล่ะ
1. ก่อนอื่นต้องทำความสะอาดตะแกรงที่ใช้ย่างก่อน เพื่อป้องกันสาร Carcinogen (สารก่อมะเร็ง) โดยขูดเอาเศษเนื้อที่ ไหม้เกรียมที่เหลือติดจากการปิ้งครั้งก่อนๆ ออกให้หมดด้วยแปรงขัด จากนั้นก็ทำความสะอาดด้วยน้ำอุ่นที่ผสมน้ำยาทำความสะอาด แล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด
2. เช็ดตะแกรงให้สะอาด แล้วใช้กระดาษชำระชุบน้ำมันพืชทาบนตะแกรงให้ทั่ว เพื่อป้องกันเนื้อติดตะแกรง
3. สำหรับการเตรียมเนื้อ ควรหมักด้วยสมุนไพร เครื่องเทศ ไวน์ น้ำปลา หรือน้ำมะนาวก่อน เพราะนอกจากจะช่วยเพิ่มรสชาติและความนุ่มแล้ว ยังสามารถช่วยลดสารก่อมะเร็งที่เรียกว่า Heterocyclic Amines (HCAs) อีกด้วย (สารตัวนี้จะพบก็ต่อเมื่อปรุงอาหารด้วยการปิ้งหรือย่างในความร้อนสูง)
4. ควรเก็บเนื้อหมักไว้ในตู้เย็น เพื่อป้องกันแบคทีเรียที่ปนมากับอากาศ เมื่อจะนำมาย่างจึงค่อยทำการละลายน้ำแข็งด้วยการย้ายเนื้อจากช่องฟรีซลงมาไว้ที่ช่องปรกติหรือจะใช้ไมโครเวฟช่วยด้วยก็ได้ แต่ไม่ควรนำมาวางทิ้งไว้เฉยๆ ที่อุณหภูมิห้อง
5. วอร์มเตาปิ้งก่อนการใช้งานสัก 5-10 นาที เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ถ้าเป็นเตาถ่านก็ให้สังเกตจากสีของขี้เถ้าว่าเป็นสีขาวหรือยัง ถ้าใช่ก็เริ่มลงมือย่างได้เลย
6. ควรเตรียมเนื้อที่จะใช้ย่างให้อยู่ในรูปของปีกผีเสี้อ โดยใช้มีดกรีดลงไปตรงกลางชิ้นเนื้อให้ลึกพอสมควร แต่ระวังอย่า ให้เนื้อขาดออกจากกัน แล้วจึงนำไปย่าง เมื่อเนื้อถูกความร้อนจะแบะออกคล้ายๆ กับปีกของผีเสื้อ วิธีนี้จะช่วยป้องกันไม่ให้เนื้อข้างนอกไหม้ก่อนที่เนื้อข้างในจะสุก
7. ในกรณีที่ใช้เตาถ่าน ควรหลีกเลี่ยงการให้เนื้อสัมผัสกับเปลวไฟโดยตรง คุณสามารถช่วยลดปริมาณของเปลวไฟได้ด้วยการใช้เนื้อที่ไม่มีมันหรือเลาะเอามันออกเสียก่อน หลีกเลี่ยงการวางเนื้อในตำแหน่งที่ตรงกับถ่านไฟ หรือจะใช้วิธีวางเนื้อลงบนแผ่นอะลูมิเนียมฟอยล์ก่อนนำไปย่างก็ได้ แต่ถ้าหากคุณเลือกใช้วิธีพรมน้ำ ให้ยกเนื้อขึ้นก่อนทำการพรม รอให้น้ำระเหยออกให้หมด จึงค่อยวางเนื้อกลับไปไว้ที่เดิม การทำอย่างนี้จะช่วยหลีกเลี่ยงไม่ให้เนื้อสัมผัสกับเขม่าควันได้โดยตรง
8. กลับเนื้ออย่างน้อย 1 ครั้ง จะช่วยให้เนื้อสุกสม่ำเสมอกัน สำหรับเนื้อที่มีไขมันมากจะใช้เวลาปิ้งนานกว่าเนื้อที่มีไขมันน้อย (เนื้อปลาจะสุกเร็วกว่าเนื้อไก่และเนื้อหมู) แต่ถ้าจะให้ดียิ่งขึ้นควรใช้เทอร์โมมิเตอร์วัดด้วยเพื่อความแน่ใจ โดยจิ้มเข้าไปในเนื้อ (ระวังอย่าให้โดนช่วงที่เป็นกระดูก) ซึ่งเนื้อแต่ละชนิดจะมีอุณหภูมิที่สุกแตกต่างกัน เช่น หากเป็นเนื้อวัว เนื้อลูกวัว เนื้อหมู หรือเนื้อแกะจะสุกที่ 170 ๐F แต่ถ้าอยากได้แบบ Medium Rare ก็จะอยู่ที่ 160 ๐F สำหรับเนื้อเป็ดหรือเนื้อไก่ถ้าเป็นเนื้อช่วงอกจะสุกที่ 170 ๐F แต่ถ้าเป็นเนื้อช่วงตัวและต้นขาต้อง 180 ๐F เท่านั้น

ย้ายอวัยวะรักษามะเร็ง

เผยเทคนิครักษามะเร็งใหม่ ย้ายอวัยวะมาทำรังสีบำบัดนอกร่างกายแล้วจึงปลูกถ่ายกลับไปดังเดิม
วารสาร New Scientist ได้รายงานเทคนิคการรักษาโดยคณะแพทย์จากอิตาเลียนซึ่งได้รักษาผู้ป่วยชายอายุ 48 ปี ซึ่งเกิดเนื้องอกตับซับซ้อนลามไปถึงตับด้วยวิธีการผ่าตัดด้วยการย้ายอวัยวะมาฉายรังสีนอกร่างกายพร้อมกันนี้ยังได้ระบุว่าหลังจากการผ่าตัดแล้วพบว่าตับของผู้ป่วยทำงานเป็นปกติ รวมทั้งไม่พบสัญญาณแสดงการเกิดเนื้องอกแต่อย่างใด
หลังจากที่พบว่า เนื้องอกจากมะเร็งดื้อต่อเคมีบำบัดและรังสีบำบัด คณะแพทย์ได้ใช้วิธี boron neutron capture therapy ในการรักษา จากนั้นจึงผ่าตัดย้ายตับมาใส่ไว้ในถุงเทฟลอนและฉายรังสีตามลำดับ เมื่อกระบวนการเสร็จสิ้นแล้ว จึงย้ายตับเข้าร่างผู้ป่วยด้วยวิธีการเดียวกับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับตามปกติ
คณะศัลยแพทย์เตรียมทำการรักษาผู้ป่วยอีกหกรายด้วยวิธีการนี้ โดยเสนอว่าเทคนิค
ดังกล่าวน่าจะช่วยให้แพทย์ทำรังสีบำบัดเฉพาะอวัยวะโดยไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะใกล้เคียง
นอกจากนี้ การย้ายอวัยวะมารักษานอกร่างกายน่าจะให้ผลดีแก่มะเร็งชนิดที่ยากต่อการรักษา
ในอวัยวะอื่นซึ่งสามารถปลูกถ่ายได้ เช่น หัวใจ หรือตับอ่อน

ลิปบาล์มลิปกลอสเสี่ยงมะเร็ง

ใครที่ใช้ลิปบาล์มหรือลิปกลอสเป็นประจำ ทราบหรือไม่ว่า อาจเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งผิวหนังได้ วันนี้เกร็ดความรู้มีเรื่องนี้มาฝากกัน....
แพทย์โรคผิวหนังในประเทศสหรัฐอเมริกาได้ออกมาเตือนผู้บริโภคเกี่ยวกับการใช้ลิปบาล์มหรือลิปกลอสที่มีลักษณะมันวาว ว่า ผลิตภัณฑ์เหล่านี้มีผลทำให้เกิดการดึงรังสีอัลตร้าไวโอเลตเข้าสู่ร่างกายมากกว่าเดิม จึงทำให้ผู้ใช้มีความเสี่ยงในการเป็นโรคมะเร็งผิวหนังมากกว่าปกติ
ทั้งนี้ พญ.คริสติน บราวน์ ผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์การแพทย์ มหาวิทยาลัย เบย์เลอร์ ในเมืองดาลลาส กล่าวเตือนว่า สำหรับลิปบาล์มหรือลิปกลอสที่มีความเมาวาวนั้น ไม่ได้ใช้ป้องกันการรับรังสีอันตรายจากแสงแดดเลยและที่แย่ยิ่งไปกว่านั้นคือผลิตภัณฑ์เหล่านี้ยิ่งมีผลทำให้เกิดการดูดรังสีต่าง ๆ เข้าไปสู่ริมฝีปากมากขึ้นกว่าปกติอีกด้วย เรียกง่าย ๆ ว่า ลิปบาล์มหรือลิปกลอสชนิดมันวาวนั้นให้ผลในทางตรงกันข้างกับผลของครีมกันแดดด้วย
รู้อย่างนี้แล้ว ก่อนใช้ลิปปาล์ม ให้ทาบำรุงริมปากด้วยลิปที่มีส่วนผสมของกันแดดก่อนทาลิปกลอสมันวาว.

วิธีพิชิตโรคมะเร็ง

ทุกๆ 6 วินาที ทั่วโลกจะมีผู้คนเสียชีวิตด้วยโรค มะเร็ง 1 คน ในปัจจุบันจำนวนผู้ป่วยโรค มะเร็ง ได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ และตอนนี้ก็เป็นสาเหตุการตายอันดับ 1 ของพี่น้องประชาชนคนไทยด้วย หลายคนท้อแท้สิ้นหวังเมื่อทราบว่าตนเองหรือญาติป่วยเป็นโรค มะเร็ง หลายคนสับสนและตื่นตระหนก เพราะเข้าใจว่าโรค มะเร็ง ไม่มีทางรักษาให้หายได้ ชีวิตที่เหลืออยู่จึงสิ้นหวังที่จริงแล้วในโลกปัจจุบันนี้มีโรค มะเร็ง หลายชนิดที่สามารถถูกวินิจฉัยได้จากการตรวจสุขภาพประจำปี หรือการตรวจด้วยตนเองที่บ้าน เช่น มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก เป็นต้น และเมื่อตรวจพบแล้วก็สามารถรักษาให้หายขาดได้ มะเร็งบางชนิดสามารถใช้วิธีการรักษาหลายๆ วิธีร่วมกันก็จะช่วยยืดอายุออกไปได้อีก แต่ก็มีบางชนิดเช่นกันที่ไม่สามารถรักษาได้หรือให้ผลการักษาที่ไม่ดีด้วยเหตุนี้ การศึกษาค้นคว้าวิจัยเพื่อหาวิธีการต่างๆ ในการรักษาโรค มะเร็งเพื่อให้ได้ผลการรักษาที่ดี และมีผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์น้อยที่สุด จึงพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องจนปัจจุบันบางโรงพยาบาลสามารถใช้เทคนิคการแพทย์แบบองค์รวม (Holistic Medicine) ในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรค มะเร็ง นั่นคือการใช้การแพทย์แผนปัจจุบัน ได้แก่ การผ่าตัด การฉายรังสี เคมีบำบัด ร่วมกับการแพทย์ทางเลือกในการรักษาโรค มะเร็ง เช่น สมุนไพร เป็นต้น เพราะการแพทย์แผนปัจจุบันมีความสามารถในการทำลายก้อน มะเร็ง ค่อนข้างสูง แต่ขณะเดียวกันก็ทำงายเซลปกติของร่างกายด้วย จึงก่อให้เกิดผลข้างเคียงตามมาเป็นจำนวนมาก ดังนั้นการประยุกต์ใช้แพทย์ทางเลือกดังกล่าวนอกจากจะเสริมประสิทธิภาพการรักษาให้ดีขึ้นแล้ว ยังช่วยลดความทรมานจาก ผลข้างเคียง อันไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้น ส่งผลให้ผู้ป่วยมี คุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้น และช่วยให้การรักษาเป็นไปอย่างต่อเนื่องและครบสมบูรณ์ ไม่ต้องหยุดหรือเลื่อนการรักษาและเพื่อให้การรักษาต่างๆ มีประสิทธิผลสูงสุด อีกทั้งในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับการรักษาแบบแผนปัจจุบันได้ก็สามารถรับยาหรือการรักษาแบบเสริมเข้าไปช่วยได้เช่นกัน อย่างไรก็ตาม สมุนไพร รักษาโรค มะเร็ง ก็มีข้อเสียตรงที่ออกฤทธิ์ช้า จะไม่เห็นผลทันที แต่จะค่อยๆ ออกฤทธิ์อย่างช้าๆ โดยไม่มีผลกระทบต่อร่างกายในการรักษาโรค มะเร็ง ที่เหมาะสมก็คือการใช้การรักษาทั้ง 2 ควบคู่กันไปแบบผสมผสานจึงจะได้ประสิทธิผลการรักษาสูงที่สุด และหากเมื่อนำการรักษาแบบผสมผสานทั้ง 2 แบบแล้ว การรักษาผู้ป่วยให้หายจากโรคมะเร็งคงไม่ใช่สิ่งที่เป็นไปไม่ได้อีกต่อไปในการรักษาผู้ป่วยโรค มะเร็ง นั้น สิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งที่เราไม่ควรมองข้ามไป คือ “คุณภาพชีวิต” ปัจจุบันการรักษา มะเร็ง ด้วยหลักของแพทย์แบบแผนตะวันตก ยังเป็นการรักษาโดยตรงที่สัมฤทธิ์ผลมากที่สุด แต่ผลข้างเคียงที่ตามมาก็ทิ้งความเจ็บปวดทั้งกายและใจแก่ผู้ป่วยไม่น้อย ดังนั้นจึงเริ่มมีการบำบัดร่วมกันระหว่างวิธีแพทย์แผนตะวันตก และแพทย์แผนโบราณกันมากขึ้น และไม่เพียงแต่ให้ความสำคัญในเรื่องการรักษาอย่างเดียว ประเด็นเรื่อง คุณภาพชีวิต ภูมิคุ้มกัน การฟื้นฟูร่างกายและจิตใจก็ได้รับความสนใจมากยิ่งขึ้น ก็เพื่อให้ผู้ป่วยโรค มะเร็ง สามารถทนต่ออาการข้างเคียงของการรักษาที่มีอาการข้างเคียงที่รุนแรง แต่ผู้ป่วยยังคงสามารถทนได้และมี คุณภาพชีวิต ที่ดีเหมือนไม่ได้ป่วยเป็นโรค มะเร็ง

สาเหตุ ที่ร่างกายของเราได้รับ สารก่อมะเร็ง

ศูนย์ศึกษาโรคมะเร็งจอห์น ฮ็อบกิ้นส์ พบแล้วว่า สาเหตุที่ร่างกายของได้รับสารก่อมะเร็งนั้นสามารถเกิดจาก
1. การดื่มน้ำ ขวด พลาสติกที่แช่ในช่องฟรีซในตู้เย็น2. การใช้พลาสติกคลุมอาหารเพื่ออุ่นในเตาไมโครเวฟ 3. รวมถึงการใช้ถุงพลาสติคใส่อาหารเพื่ออุ่นกับเตาไมโครเวฟ4. การใช้ วัสดุโฟมใส่อาหารที่ร้อนและมันเนื่องจากสารพิษจากพลาสติกสามารถละลายออกแล้วไหลปนเปื้อนกับอาหารที่เรารับประทานได้ โดยตรง ทำให้เกิดโรคมะเร็งทรวงอก มะเร็งในกระเพาะอาหาร มะเร็งลำไส้ใหญ่

อาหารต้านมะเร็ง

อาหารต้านมะเร็งที่นักวิทยาศาสตร์ค้นพบนั้น ไม่ใช่อาหารราคาแพงตามภัตตาคารหรูหราแต่อย่างใด คุณสามารถปลูกทานเองได้ในสวนหลังบ้านงานวิจัยจากหลายๆ สถาบันกล่าวถึงประโยชน์ของการรับประทานผักและผลไม้ โดยเฉพาะผลไม้และผักดิบ (ที่ไม่ต้องการผ่านปรุงให้สุกด้วยความร้อน) เมื่อไม่นานมานี้ ผักสีเข้มจำพวกกะหล่ำปลี อย่างบรอคโคลี และงอกบรอคโคลี นั้นผ่านการวิจัยแล้วพบว่ามันอุดมไปด้วย isothiocyanates (ITCs) ซึ่งเป็นสารชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติต้านมะเร็ง นักวิจัยจึงเชื่อว่า บรอคโคลีอาจจะเป็นตัวสำคัญในการป้องกันการเกิดมะเร็งในกระเพาะปัสสาวะ “เนื่องจากกระเพาะปัสสาวะมีลักษณะคล้ายถุง มะเร็งในกระเพาะปัสสาวะมักจะเกิดที่ผนังด้านในของถุง ซึ่งเรียกว่า epithelium ซึ่งเป็นส่วนที่สัมผัสกับปัสสาวะและคาดว่ามันเกิดมะเร็งเนื่องจากถูกรบกวนจากสารพิษที่อยู่ในน้ำปัสสาวะ” Prof.Yuesheng Zhang ผู้เชี่ยวชาญด้านมะเร็งและเนื้องอกจากสถาบันมะเร็ง Roswell Park กล่าว จากการทดลองในหนู คณะทำงานของ Prof.Yuesheng Zhang พบว่า น้ำสกัดจากงอกบรอคโคลีแช่แข็งนั้นป้องกันการก่อตัวของมะเร็ง ทั้งอัตราการเกิดจำนวนและขนาดของมะเร็ง รวมถึงไม่ส่งผลกระทบหรือผลข้างเคียงต่อตัวกระเพาะปัสสาวะเองด้วยนักวิจัยยังได้แนะนำว่าควรรับประทานผักเช่น บรอคโคลี และงอกบรอคโคลี กะหล่ำปลี และกะหล่ำดอก อย่างน้อยเดือนละ 3 ครั้งหรือ 3 เสิร์ฟ (เสิร์ฟละประมาณ 100 กรัมหรือ 1 ถ้วยตวง) ขึ้นไป ซึ่งปริมาณนี้จะช่วยลดการเกิดมะเร็งได้ประมาณ 40%ทีมนักวิจัยของ Ohio State University ได้รายงานว่า ผลไม้อย่างราสเบอรี่ดำ (Black raspberry) ก็มีการค้นพบว่าช่วยชะลอการก่อตัวของการเกิดมะเร็งในหลอดอาหาร โดยช่วยในการลดการเกิดปฏิกิริยาเคมีของผู้ป่วยที่มีอาการที่เรียกว่า Barrett's esophagus (BE) ซึ่งเป็นอาการของโรคที่อาหารไหลย้อนขึ้นมาที่หลอดอาหาร (gastro esophageal reflux disease) ซึ่งเป็นสัญญาณบอกเหตุของโรคมะเร็งในหลอดอาหาร นอกจากนี้ gastro esophageal reflux disease ยังสามารถเพิ่มดัชนีมวลกาย (body mass index) หรือความอ้วนของร่างกายได้อีกด้วย ซึ่งเป็นตัวช่วยในการพัฒนาเซลล์มะเร็ง Esophageal Aden carcinoma (EAC) แต่โชคดีที่การเพิ่มการบริโภคผลไม้อย่างราสเบอรี่ดำสามารถลดความเสี่ยงของ EAC ลงได้ นาง Laura A. Kresty จาก Ohio State University กล่าวจากการทดลองกับหนูทดลอง ทีมของนาง Laura A. Kresty ได้พบว่าราสเบอรี่ดำนั้นสามารถช่วยยับยั้งการก่อตัวของมะเร็งในปาก มะเร็งในหลอดอาหาร และมะเร็งในลำไส้ได้ โดยมันสามารถลด oxidative stress ลดการทำลาย DNA ยับยั้งอัตราการเพิ่มจำนวนของเซลล์ (cellular proliferation rates) และลดจำนวนของเซลล์ก่อนมะเร็งในหลอดอาหารและลำไส้ ส่วนในการทดลองกับคนเรา โดยเพศหญิงรับประทานราสเบอรี 32 กรัม และเพศชาย 45 กรัม เป็นระยะเวลา 26 สัปดาห์ ทีมงานก็พบผลในทางบวกเช่นเดียวกันผลไม้อย่างราสเบอรี่ แม้จะดูออกฝรั่งไปหน่อย ก็เนื่องจากนักวิจัยเขาเป็นฝรั่ง แต่ผลไม้ไทยเราก็ยังมีอีกมากมาย ที่ยังรอวันให้นักวิจัยคนไทยเราให้หยิบมาศึกษาค่ะ อ้างอิง
Science Daily. "Chemoprevention, Naturally Findings On Plant-derived Cancer Medicines".Accessed from - http://www.sciencedaily.com/releases/2007/12/071206124856.html

Science Daily. "Diet And Cancer Prevention New Evidence For The Protective Effects Of Fruits And Veggies". Accessed from - http://www.sciencedaily.com/releases/2007/12/071206105144.html

อาหารที่อาจก่อให้เกิดโรคมะเร็ง

มะเร็งแม้ว่าจะไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง แต่จากการศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้จากประวัติ ของผู้ที่เป็นโรคมะเร็งชนิดต่างๆ ในวงการแพทย์จึงให้คำแนะนำว่า ท่านไม่ควรบริโภคอาหารที่อาจจะเป็นสาเหตุของการก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้ ดังนี้

1. อาหารที่ขึ้นราง่าย เช่นถั่วลิสงที่เรามาบดใส่ในก๋วยเตี๋ยวต้มยำ ถ้าเก็บรักษาไม่ดี ไว้ในที่ชื้นๆจะทำให้เกิดเชื้อราที่มีสารพิษ ซึ่งทำให้สามารถเกิดโรคมะเร็งของตับได้

2. อาหารหมักที่ใช้ดินประสิว การหมักด้วยดินประสิวจะทำให้เนื้อสัตว์มีสีแดงน่ารับประทาน ถ้ารับประทานดินประสิวเข้าไปบ่อยๆ จะไปรวมกับสารอาหารบางอย่างในอาหารอื่นๆ ก่อให้เกิดสารก่อมะเร็งของตับและสมองได้

3. อาหารที่มียาฆ่าแมลงติดค้างอยู่ เช่นพวกผักผลไม้ต่างๆ ต้องมีการแช่น้ำไว้ 15-20 นาที หรือล้าง 2-3 ครั้ง ยาฆ่าแมลงบางอย่างอาจเปลี่ยนเป็นสารก่อมะเร็งในร่างกาย ทำให้เกิดมะเร็งของกระเพาะอาหาร มะเร็งของตับและไตได้

4. อาหารที่ใส่สี ที่ไม่ได้ทำไว้สำหรับผสมอาหาร อาจก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้

5. อาหารที่สุกเกินไปจากการทอดหรือย่าง มีลักษณะสีดำเหมือนถ่าน ซึ่งเชื่อกันว่ามีสารก่อมะเร็งอยู่ในส่วนที่ไหม้เกรียมนั้น

พืช ผัก ผลไม้ สมุนไพร ต้านมะเร็ง

วันเพ็ญ บุญสวัสดิ์* * อาจารย์ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย

มะเร็งเป็นโรคที่คุกคามชีวิตมนุษย์เพราะเป็นโรคที่ต้องอาศัยการดูแลรักษาเป็นระยะเวลายาวนานและผลข้างเคียงของการรักษาค่อนข้างรุนแรง รวมทั้งสาเหตุที่แท้จริงของการเกิดมะเร็งนั้นไม่ทราบแน่นอน ถึงแม้ว่ามะเร็งบางชนิดจะมีบทบาททางพันธุกรรมเป็นส่วนสำคัญในการเกิดโรค แต่สาเหตุของการเกิดมะเร็งร้อยละ 80 เกิดจากวิถีการดำรงชีวิตและสภาพแวดล้อม เช่น
พฤติกรรมการบริโภค การมีโภชนาการที่ไม่เหมาะสม สิ่งแวดล้อมที่เต็มไปด้วยสารพิษ อากาศที่ใช้หายใจ ตำแหน่งที่อยู่อาศัยและการประกอบอาชีพ รวมทั้งการขาดการออกกำลังกาย จากสาเหตุเหล่านี้พบว่าอุบัติการของโรคมะเร็งเพิ่มสูงขึ้นในทุกประเทศ ในประเทศไทยโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญอันดับที่ 2 หรือ 3 สลับกับโรคหัวใจในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา ปัจจุบันพบว่าโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญอันดับ 1 และมีการคาดการณ์ว่าจำนวนผู้ป่วยมะเร็งจะเพิ่มขึ้นเป็น 15 ล้านคน ในปี พ.ศ.2558 จากเดิม 9 ล้านคน ในปี พ.ศ.2541
มะเร็งคือเซลล์ที่มีการเจริญเติบโต มีรูปร่างและคุณสมบัติผิดไปจากเซลล์ปกติทั่วไป มีโอกาสเกิดได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย นอกจากจะมีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนเซลล์มากขึ้นเป็นก้อนจนไปเบียดบังเนื้อที่ของอวัยวะรอบด้านแล้วยังสามารถทำลายเนื้อเยื่อใกล้เคียงและแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่นได้ โดยผ่านไปตามต่อมน้ำเหลือง และกระแสเลือด จากจำนวนผู้ป่วยมะเร็งที่เพิ่มขึ้นทุกปี ส่งผลให้มีการศึกษาค้นคว้า ตัวยาและวิธีการใหม่ เพื่อรักษาและป้องกันโรคมะเร็ง และในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่า การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันการเกิดมะเร็ง มีความสำคัญยิ่งกว่าการรักษา ดังนั้นการให้ความรู้หรือแนวทางด้านการส่งเสริมสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการบริโภค ด้านการปฏิบัติตัว ทั้งหมดนี้เป็นสิ่งที่จะช่วยให้เกิดพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม เช่น การลดอาหารไขมันจากสัตว์ เลือกรับประทานผักผลไม้ อาหารสมุนไพร ที่ปลอดสารพิษ เพราะว่าผักผลไม้หลายชนิดมีคุณสมบัติเป็นแอนติออกซิเดนท์ (antioxidant) และมีสารสำคัญที่ทำลายเซลล์มะเร็งได้ สมุนไพรเป็นสิ่งหนึ่งที่จะช่วยในการส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งสามารถใช้ป้องกันหรือชลอการเกิดมะเร็ง ตลอดจนยับยั้งหรือทำลายเซลล์มะเร็งบางชนิดได้
ในบทความนี้จะกล่าวถึงพืช ผัก สมุนไพร ที่มีสารที่สามารถต่อต้านหรือป้องกันการเกิดโรคมะเร็งได้ ซึ่งสารดังกล่าวเรียกว่า สารต่อต้านการก่อมะเร็ง (anti -carcinogen) และสารต่อต้านการส่งเสริมมะเร็ง (anti-tumor promoter) แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

1) สารต้านมะเร็ง แอนติออกซิแดนท์ (antioxidants) สารป้องกันปฏิกิริยาออกซิเดนท์หรือต้านฤทธิ์ของอนุมูลอิสระ (free radicals) ที่มีอยู่ในธรรมชาติในรูปของวิตามินและแร่ธาตุ ได้แก่ วิตามินเอ ซี อี, แร่ธาตุสังกะสี (Zinc) และเซลีเนียม (Selenium)
2) สารแอนติออกซิแดนท์ที่ไม่ใช่วิตามิน ส่วนใหญ่เป็นสารรสฝาดพบในยอดผักและเมล็ดพืช ได้แก่ สารพวกโปลีฟีนอล (polyphenols) เป็นสารในกลุ่มไบโอพลาโอนอย์ (bioflavonoids) ไลโคปีน (lycopenes) แคโรทีนอยด์ (carotenoids) ไอโซฟลาโวน (isoflavone coumarin derivative) เบต้าคาโรตีน เป็นต้น



พืช ผัก ผลไม้ ที่มีคุณสมบัติในการต่อต้านหรือป้องกันการเกิดมะเร็ง มีดังนี้

วิตามินเอ (Vitamin A) : มีคุณสมบัติเป็นสารต่อต้านการเกิดมะเร็ง และเป็นสารอาหารที่ส่งเสริม
ภูมิคุ้มกัน ในพืชผักไม่มีวิตามินเอ แต่มีสารประกอบพวกแคโรทีน ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นวิตามินเอได้ในตับ พบในผักและผลไม้ที่มีสีเขียว สีเหลือง สีส้ม สีแดง ได้แก่ ผักบุ้ง คะน้า ตำลึง มะระขี้นก ใบกระเพา ใบย่านาง ผักแพว ใบแมงลัก ยอดแค ผักชะอม ฟักทอง ตะไคร้ บัวบก มะม่วง มะขาม มะเฟือง มะละกอ แตงโม กระเจี๊ยบ แอปเปิ้ล ลูกเดือย เป็นต้น

โดยมีรายละเอียดของส่วนที่นำมาใช้และประโยชน์ ดังนี้
- คะน้า ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ใบ ก้าน และลำต้น ประโยชน์ คือเป็นผักที่ให้วิตามินเอสูงมาก
และเป็นแหล่งของเบต้าแคโรทีน ( β- Carotene) ซึ่งเป็นสารยับยั้งการก่อมะเร็งนอกจากนั้นยังมีแคลเซียม ฟอสฟอรัส และวิตามินซีอีกด้วย
- ตำลึง ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ใบ ประโยชน์เป็นผักที่ให้วิตามินเอสูงมาก และยังมีแคลเซียม
ฟอสฟอรัส วิตามินซี มีคุณสมบัติในการแก้อาการแพ้ อาการอักเสบ ช่วยป้องกันโลหิตจาง หัวใจขาดเลือดและโรคมะเร็ง
- มะระขี้นก ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ผลและเมล็ดแก่ ประโยชน์ ให้วิตามินเอสูงมาก
นอกจากนั้นยังพบสารสำคัญที่ออกฤทธิ์ต้านไวรัสและฆ่าเซลล์มะเร็งเต้านมและเซลล์มะเร็งสมองได้ผลดี
- มะม่วง ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ผลดิบและผลสุก ประโยชน์ เป็นผลไม้ที่มีวิตามินเอและซีสูง นอกจากนั้นยังมีฟอสฟอรัส แคลเซียม และเหล็กอีกเล็กน้อย
- มะขาม ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ เนื้อมะขามสดหรือเปียก ประโยชน์ เป็นผลไม้ที่มีวิตามินเอ
และแคลเซียมสูง
-ส้ม ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ผล ประโยชน์ เป็นผลไม้ที่มีวิตามินเอมาก นอกจากนั้นยังมีแคลเซียม
ฟอสฟอรัส และวิตามินซี
-มะเฟือง ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ผลที่แก่จัด ประโยชน์ เป็นผลไม้ที่อุดมคุณค่าไปด้วย วิตามินเอ
ซี ฟอสฟอรัสสูง และแคลเซียมเล็กน้อย
-แตงโม ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ เนื้อแตงโม ประโยชน์ เป็นผลไม้ที่มีคุณค่าเต็มไปด้วยวิตามิน
เอ และซี
- กระเจี๊ยบ ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ดอกกระเจี๊ยบสดหรือแห้ง ประโยชน์อุดมไปด้วยวิตามินเอ
นอกจากนั้นยังมีแคลเซียม
- มะละกอและแอปเปิ้ล ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ผล ประโยชน์ เป็นผลไม้ที่เต็มไปด้วยวิตามินเอ
- ลูกเดือย ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ เมล็ด ประโยชน์ ให้ฟอสฟอรัสสูงมาก รองลงมาคือ วิตามินเอ
- ตะไคร้ ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ เหง้าลำต้นและใบ ประโยชน์ เป็นผักที่อุดมไปด้วยวิตามินเอ
นอกจากนั้นยังมีแคลเซียมและฟอสฟอรัสสามารถป้องกันการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ในระยะเริ่ม ต้นได้
-บัวบก ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ใบและต้นสด ประโยชน์ วิตามินเอ และแคลเซียมสูงมาก นอกจาก
นั้นยังมีวิตามินบี1เป็นพืชที่ประกอบด้วยกลัยโคไซด์ที่มีคุณสมบัติทำให้เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissue) ที่ผิวหนังแข็งแรงส่งผลให้ผิวหนังเรียบ ตึง แน่น ช่วยบรรเทาอาการเส้นเลือดขอด ผิวด่างดำ และช่วยให้แผลเป็นจางหาย และนุ่มขึ้น สารสกัดจากใบบัวบก ทำให้แผลหายเร็ว มีขนาดเล็ก เร่งการสร้างเนื้อเยื่อ และเยื่อบุเซลล์ใหม่ ระงับการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย ที่ทำให้เกิดหนองและลดการอักเสบ และมีคุณสมบัติทำให้หลอดเลือดขยายตัว ช่วยทำให้การไหลเวียนโลหิตดีขึ้นและเร่งการทำลายเชื้อโรคโดยเม็ดเลือดขาว นอกจากนั้นยังมีฤทธิ์ในการยับยั้งและทำลายเซลล์มะเร็ง
วิตามินซี (Vitamin C)
พบในผลไม้รสเปรี้ยวเป็นส่วนใหญ่ มีกรดแคสคอร์บิค (ascorbic acid) ซึ่งผลิตคอลลาเจน (Collagen) ส่งผลดีต่อสุขภาพผิวหนัง เนื้อเยื่อและเส้นเลือดแข็งแรง ช่วยในการสมานแผลช่วยในกระบวนการดูดซึมเหล็ก ทำให้ร่างกายมีภูมิต้านทานสูงขึ้น นอกจากนั้นยังมีคุณสมบัติเป็นแอนติออกซิแดนท์ช่วยต่อต้านการเกิดมะเร็ง พบมากในผักสดและผลไม้ โดยเฉพาะผักสด ใบส่วนยอดและเมล็ดที่กำลังจะงอก ได้แก่ ฝรั่ง มะขามป้อม ยอ เพกา มะนาว มะเขือเทศ เชอรี สับปะรด มะม่วง มะเฟือง แตงโม คะน้า ตำลึง ถั่วงอก ยอดมะขาม ใบเหลียง ผักหวาน พริก มะรุม เป็นต้น
โดยมีรายละเอียดของส่วนที่นำมาใช้และประโยชน์ ดังนี้
- ฝรั่ง ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ผลแก่จัดเอาเฉพาะเนื้อ ประโยชน์เป็นผลไม้ที่มีวิตามินเอและซีสูง
นอกจากนั้นยังมีสารเบต้า-คาโรทีน ที่ช่วยลดสารพิษในร่างกาย อีกทั้งยังป้องกันไม่ให้ไขมันจับที่ผนังหลอดเลือด
-มะนาว ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์น้ำมะนาว เป็น antioxidantประโยชน์ มีวิตามินซีมาก, เมล็ดมีรส
ขมใช้ขับเสมหะ และรากมะนาวมีรสปร่า แก้สติหลงลืม
-มะเขือเทศ ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ผลสีแดง ให้วิตามินเอ และไลโคพีน ของเหลวคล้ายเยลลี
ที่ล้อมรอบเมล็ดให้วิตามินซีประโยชน์ เป็นแหล่งวิตามินเอ วิตามินซี เส้นใยอาหาร และพบว่ามีสารอาหารที่ชื่อว่า ไลโคพีน (lycopene) ซึ่งเป็นสารสำคัญในการป้องกันการก่อตัวของสารมะเร็ง ซ่อมแซมร่างกายส่วนที่สึกหรอ ลดอัตราการเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ นอกจากนั้นมะเขือเทศยังมีวิตามินซี ซึ่งเป็นสารป้องกันอนุมูลอิสระที่สำคัญมีหน้าที่ในการเพิ่มความแข็งแรงให้ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย จากการศึกษาพบว่าผู้ชายที่บริโภคมะเขือเทศประมาณ 10 ผลต่อสัปดาห์หรือซอสมะเขือเทศ จะมีอัตราเสี่ยงของการเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากและโรคไส้เลื่อนน้อยกว่าผู้ที่ไม่บริโภคมะเขือเทศ เพื่อให้เกิดประโยชน์ควรรับประทานมะเขือเทศที่อยู่ในอาหารที่ผ่านการปรุงแล้ว ซึ่งจะสามารถดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ง่าย
- ยอ ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ผลแก่ ผลอ่อนประโยชน์ ผลยอเป็นผักที่มีวิตามินสูง คนไทย
โบราณใช้เป็นยา อายุวัฒนะช่วยบำรุงธาตุ จากการศึกษาในสัตว์ทดลอง พบว่ายอมีสารยับยั้งการเจริญเติบโตของมะเร็งขั้นต้น โดยการสร้างระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายให้แข็งแรงต้านการเป็นมะเร็งและยอมีผลทำให้สมองมีการผลิตซีโรโตนินมากขึ้น ส่งผลให้การนอนหลับเป็นปกติ ข้อควรระวัง : ไม่ควรรับประทานในผู้ป่วยโรคไตและโรคหัวใจ เนื่องจากยอมีโปแตสเซียมในปริมาณสูงอาจมีผลต่อการทำงานของไตและหัวใจ
- มะขามป้อม ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ผลสด ประโยชน์ เป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูงมากคือ 208
มิลลิกรัมต่อน้ำหนักมะขามป้อม 100 กรัม
- เพกา ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ฝักอ่อน ประโยชน์ มีวิตามินซีสูงมากถึง 484 มิลลิกรัมต่อ
น้ำหนักเพกา 100 กรัม นอกจากนั้นยังมีวิตามินเอ ซึ่งจะช่วยป้องกันอนุมูลอิสระให้เกิดขึ้น
ในร่างกาย ทั้งนี้การรับประทานเพการ่วมกับอาหารที่มีวิตามินสูง เช่น รำข้าวในข้าวกล้องจะ
ช่วยเสริมฤทธิ์ในการป้องกันการเกิดอนุมูลอิสระในร่างกายได้อย่างสมบูรณ์
-เชอรี่ ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ผล ประโยชน์ เป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูงมาก
-สัปปะรดส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์เป็นผลที่มีแคลเซียมและฟอสฟอรัสสูงมากรองลงมาคือมีวิตามินซี

วิตามินอี (Vitamin E)
วิตามินอีมีคุณสมบัติเป็นแอนติออกซิแดนท์ช่วยต่อต้านการเกิดมะเร็ง ลดความเสี่ยงของการเกิดโรคระบบประสาท นอกจากนั้นยังมีคุณสมบัติในการทำให้เซลล์เยื่อบุผิวหนัง (Cell membrane) แข็งแรง มีสุขภาพดีขึ้น ช่วยลดริ้วรอยผิวหนัง ช่วยในการไหลเวียนเลือด พบมากในเมล็ดธัญพืช ต่าง ๆ ที่ให้น้ำมัน ได้แก่ ถั่วเหลือง ข้าวโพด งา รำข้าว ข้าวกล้อง จากการศึกษาของเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ พบว่าเมล็ดทานตะวันมีปริมาณวิตามินอีสูงมากกว่าในถั่วเหลือง และข้าวโพด
โดยมีรายละเอียดของส่วนที่นำมาใช้และประโยชน์ ดังนี้
- ถั่วเหลือง ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ เมล็ด ประโยชน์ พบว่ามีสารกลุ่มไอโซพลาโวน
(isoflavone courmarin derivative) จำนวนมาก ซึ่งสารดังกล่าวทำหน้าที่เป็น phytoestrogen ต้านทานการเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านมที่เกิดจากการกระตุ้นของเอสโตรเจน และยังพบสารเจนิสทีนที่เป็นสารในกลุ่มไบโอพลาโวบอยด์ ช่วยป้องกันมะเร็งโดยไม่ให้ร่างกายสร้างหลอดเลือดฝอยที่จะส่งอาหารไปเลี้ยงเซลล์มะเร็งทำให้เซลล์มะเร็งฝ่อตาย
- งา ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ เมล็ด ประโยชน์ พบว่ามีวิตามินอีสูง และสารเซซามอล ซึ่งสามารถป้องกันมะเร็งได้ นอกจากนี้พบว่าน้ำมันงาเป็นไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน มีกรดไขมันที่จำเป็นต่อร่างกายมาก (Essential Fatty acid) คือ กรดไลโนเลอิค และโอเลอิค กรดนี้ร่างกายนำไปสร้างฮอร์โมนโพรสตาแกลนดิน-อี-วัน ซึ่งมีประโยชน์ต่อร่างกายได้แก่ 1)ขยายหลอดเลือด 2) ช่วยลดความดันเลือด 3) ป้องกันเกล็ดเลือดเกาะตัวเป็นลิ่มเลือด ซึ่งอาจจะไปอุดตันหลอดเลือดเล็ก ๆ เป็นสาเหตุของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน หรืออัมพาตถ้าลิ่มเลือดไปอุดหลอดเลือดสมอง
และงาเป็นอาหารที่มีแร่ธาตุที่สำคัญคือ ธาตุเหล็กช่วยบำรุงเลือด ธาตุไอโอดีนป้องกันคอพอก สังกะสีบำรุงผิวหนังและแคลเซียม นอกจากนั้นพบว่างาเป็นอาหารที่อุดมไปด้วยวิตามินบี 1, 2, 3, 5, 6, 9 ซึ่งจะบำรุงระบบประสาท สมอง

ซิลีเนียม (Selenium)
มีคุณสมบัติในการช่วยกำจัดอนุมูลอิสระควบคุมความดันโลหิต พบมากในอัลมอนด์ เห็ดต่าง ๆ กระเทียม ส้ม องุ่น กะหล่ำปลีและหัวผักกาด เป็นต้น มีการศึกษาพบว่ากะหล่ำปลีสายพันธุ์ที่ปลูกในเมืองไทย สามารถยับยั้งหรือป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านม โดยสามารถลดได้ทั้งอัตราการเกิด (incidence) และจำนวนก้อนมะเร็ง เนื่องจากมีคุณสมบัติในการกระตุ้นเอนไซม์ที่มีหน้าที่กำจัดสารพิษออกจากร่างกาย ทำให้เซลล์เปลี่ยนแปลงเป็นเซลล์มะเร็งลดลง ส่วนในหัวผักกาดพบว่าทำให้ขนาดและปริมาตรก้อนเนื้องอกเล็กลงทำให้การเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งช้าลง(tumor progression)

สังกะสี (Zinc)
มีส่วนสำคัญในกระบวนผลิตสารพันธุกรรม (RNA และ DNA) ช่วยให้ร่างกายจับวิตามินเอไว้ในกระแสเลือด พบมากในขิง เมล็ดฟักทอง กระหล่ำปลี แครอท แตงกวา และส้ม
นอกจากพืช ผักผลไม้ที่กล่าวมาแล้ว ยังมีสมุนไพรอื่น ๆ ที่มีฤทธิ์ในการต้านเซลล์มะเร็งได้แก่ ชา ขิง พริกไทย ใบแป๊ะก๊วย เกากีจี้ โสมเกาหลี หญ้าปักกิ่ง และเห็ดหลินจือ เป็นต้น

ชา
ในใบชามีสารที่ชื่อว่า “ฟลาไวนอยด์” ซึ่งเป็นสาร antioxidant ช่วยในการป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง นอกจากนั้นฟลาโวนอยด์ ยังเป็นสารที่ช่วยให้เกร็ดเลือดไม่จับตัวกัน ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคหัวใจ เมื่อดื่มชาเป็นประจำทุกวัน เพียงวันละ 1 ถ้วย จะสามารถลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งและหัวใจลงได้

ขิง
เป็นพืชที่พรั่งพร้อมไปด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เหง้าของขิงแก่ มีสารเบต้า คาโรทีนที่ช่วยกำจัดอนุมูลอิสระ (Free radical) ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง ขิงจึงเป็นพืชที่รับประทานแล้วช่วยต้านมะเร็งได้

พริกไทย (black peper)
เป็นพืชที่มีสารสำคัญ ชื่อ “ฟีนอลิกส์” (Phenolics) ซึ่งมีคุณสมบัติเป็น antioxidant อย่างดี พริกไทยเป็นพืชที่มีคุณสมบัติด้านสารก่อมะเร็งในทางเดินอาหารได้อย่างดี และยังพบว่าพริกไทยสามารถเร่งให้ตับทำลายสารพิษมากขึ้น

ใบแป๊ะก๊วย (Ginkgo biloba)
มีสารสำคัญที่ส่งผลช่วยให้เลือดไหลไปเลี้ยงสมองดีขึ้น ทำให้สมองตื่นตัว ใช้กับพวกที่มีความจำเสื่อมเมื่ออายุมากขึ้น นอกจากนั้นยังช่วยกำจัดอนุมูลอิสระที่เป็นสาเหตุให้เกิดมะเร็ง

เกากีจี้
ได้จากผล Lycium chinense ซึ่งเป็นพืชวงศ์เดียวกับ มะเขือ พริก เป็นพืชที่มีจำนวนวิตามินเอ และมีเบต้า-คาโรทีนสูง ซึ่งช่วยกำจัดอนุมูลอิสระ นอกจากนั้นยังมีสารที่ช่วยในการทำงานของไตและตับ

โสมเกาหลี
รากโสม มีสารที่สำคัญคือ จินเซนโนโซด์ (ginsenoside) หรือพาแนกโซไซด์ (panaxoside) ซึ่งสามารถทำให้การเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งจากตับชะงักลงและเซลล์มะเร็งดังกล่าวถูกเปลี่ยนให้กลับไปเป็นเซลล์ปกติได้นอกจากนั้นยังกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกัน กระตุ้นให้มีการสร้าง “interferon”
ทั้งนี้ โสมจะมีสารที่เป็นส่วนประกอบสำคัญที่นำมาใช้แตกต่างกัน เปลี่ยนไปตามพื้นที่และสภาพแวดล้อม
ข้อควรระวัง : ไม่ควรรับประทานโสม ร่วมกับวิตามินซี เพราะจะลดคุณค่าของโสม ควรรับประทานห่างกันเป็นเวลา 6-8 ชั่วโมง และไม่ควรรับประทานโสมต่อเนื่องเป็นเวลานาน อาจทำให้เกิดภาวะเลือดออกง่ายได้

หญ้าปักกิ่งหรือหญ้าเทวดา (Murdannia loriformis)
ในใบและลำต้นมีสารกลุ่มกลัยโคไซด์ เช่น สารฟลาโวนอยด์ สำหรับการนำมาใช้เพื่อรักษามะเร็งเต้านมและลำไส้ใหญ่ได้ วิธีการนำมาใช้ที่เชื่อว่าจะให้ประโยชน์สูงสุดคือ เลือกหญ้าปักกิ่งจากต้นที่มีอายุ 7-12 เดือน จำนวน 6 ใบ ล้างน้ำให้สะอาด ปั่นให้แหลก เติมน้ำ 4 ช้อนโต๊ะ คั้นเอาแต่น้ำแบ่งเป็น 2 ส่วน ดื่มก่อนอาหารเช้าครึ่งชั่วโมงและก่อนนอนทุกวัน

เห็ดหลินจือ หรือเห็ดหมื่นปี หรือเห็ดอมตะ (Holymushroom, or Lacquered mushroom)
สารสำคัญที่พบมีฤทธิ์ต้านมะเร็งโดยเข้าไปยับยั้งเนื้องอกได้ดี คือ โพลีแซคคาไรด์ชนิดเบต้า ดี-กลูแคน (β - D – glucan) จากการศึกษาโดยสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่าสารสกัดจากเห็นหลินจือ มีผลต่อเซลล์มะเร็งในสัตว์ทดลอง นอกจากนั้นยังพบว่าสามารถออกฤทธิ์ช่วยให้ร่างกายมีระบบภูมิคุ้มกันที่ดีและยังมีฤทธิ์ต้านพิษที่เกิดจากการฉายรังสีจึงอาจเป็นไปได้ว่าการใช้เห็ดหลินจือจะช่วยชะลอการลุกลามของมะเร็ง
ส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ ดอกเห็ดที่อยู่ในช่วงที่สมบูรณ์ที่สุด ซึ่งจะเป็นช่วงที่มีสีน้ำตาลแดงสปอร์มีสีน้ำตาล รสขม รูปร่างรี ดอกเห็ดแก่ ขอบหมวกจะงุ้มลง สีหมวกเข้มขึ้น และอาจมีดอกใหม่งอกซ้อนขึ้นก็ได้
พืช ผัก ผลไม้ ที่ได้กล่าวไปแล้ว เป็นเพียงส่วนหนึ่งของสมุนไพรที่มีผลต่อเซลล์มะเร็ง ยังมีพืชสมุนไพรอีกหลายชนิด ที่มีผู้ศึกษาค้นคว้าว่ามีฤทธิ์ในการป้องกันและรักษามะเร็งได้ ไม่ว่าจะเป็นคื่นช่าย ผักชีฝรั่ง กระชาย ดีปลี โหระพา ผักขวง เหงือกปลาหมอ ขมิ้นอ้อย หอมใหญ่ ฯลฯ

สรุป
พฤติกรรมสุขภาพของคนในยุคปัจจุบัน เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญ ในการเกิดโรคมะเร็ง โดยที่สังคมไทยในอดีตมีภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisdom) เป็นสิ่งอันทรงคุณค่าที่มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรครวมถึงใช้ในการรักษาโรคของคนไทย แต่เมื่อค่านิยมของคนในสังคมเปลี่ยนแปลงไป ภูมิปัญญาท้องถิ่นดังกล่าว จึงถูกละเลยหรือหลงลืมไประยะหนึ่ง ในศตวรรษใหม่นี้ สังคมโลกกลับมาให้คุณค่าสมุนไพรในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รวมถึงใช้ในการรักษาโรคอีกครั้ง เพราะตระหนักถึงคุณประโยชน์ของทางเลือกใหม่(Complementary/Alternative Therapy)ในการดูแลภาวะสุขภาพของมนุษย์
อย่างไรก็ตามทางเลือกต่าง ๆ ผู้ป่วย ครอบครัว และญาติ ควรมีโอกาสเลือกใช้วิธีปฏิบัติ ต่าง ๆด้วยตนเอง โดยไม่เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ดังนั้นบุคลากรทีมสุขภาพควรคำนึงถึงสภาพจิตใจของผู้ป่วยและครอบครัวและยอมรับทางเลือก เป็นผู้ให้คำปรึกษา แนะนำ ในวิธีการรักษาโรคมะเร็งที่ผู้ป่วยเลือกใช้และทำหน้าที่ซึ่งอาจมีหลายวิธีร่วมกัน รวมทั้งผสมผสานการรักษาโดยการแพทย์แผนปัจจุบัน และการแพทย์แผนไทยเพื่อส่งเสริมให้ผู้รับบริการมีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกายจิตสังคมและจิตวิญญาณ ตลอดจนมีคุณภาพชีวิตที่ดี

เอกสารอ้างอิง
จันทรา เจณณวาสิน. (2540). โรคมะเร็งกับวิถีทางการดำรงชีวิตของคนเรา. คัดลอกจากนิตยสารใกล้หมอ 21 (2) กุมภาพันธ์ 2540. (http://www.E-LIB Health Lihrary for Thai : CANCER รอบรู้โรคมะเร็ง).
บัญญัติ สุขศรีงาม. (2536).เครื่องเทศที่ใช้เป็นสมุนไพร เล่ม 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อมรการพิมพ์. รายงานการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง สมุนไพรไทย. เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปี โดยคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์ เคมีและเภสัช มหาวิทยาลัยขอนแก่น และสมาคมสมุนไพรแห่งประเทศไทยร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม 23-25 มกราคม พ.ศ.2540. ณ โรงแรมเจริญธานีปริ้นเซส จังหวัดขอนแก่น. กรุงเทพฯ : บุญศิริการพิมพ์.
เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ. (2541). การแพทย์แผนไทยกับโรคมะเร็ง. คัดลอกจากหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ.2541. (http://www.E-LIB hey.to/yimyam i.am/thaidoc).
วันดี กฤษณพันธ์. (2541). สมุนไพรน่ารู้. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมพร เตรียมชัยศรี. (2542). ประเด็นและแนวโน้มการดูแลสุขภาพเชิงองค์รวม วารสารพยาบาล, 48 (2), 71-80.
สำนักบริหารการทะเบียนกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2542). จำนวนและร้อยละของการตายด้วยเนื้องอกเนื้อร้ายทุกตำแหน่ง จำแนกตามเพศและอายุ พ.ศ.2539-2542. (http://www.moph.go.th).
อนงค์ เทพสุวรรณ, เพียงใจ ดูประตินันท์ และวรรณี คูสำราญ. (2540). “ผลของกะหล่ำปลีและหัวผักกาดในการป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านมในหนูที่ได้รับสารก่อมะเร็ง”. วารสารโรคมะเร็ง. 23 (1-2), 26-35.
ไมตรี สุทธจิตต์ และศิริวรรณ สุทธจิตต์. (2547). พืชผักพื้นบ้าน สมุนไพร ต้านมะเร็ง. เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเวทีเครื่อข่ายผู้เป็นมะเร็งกับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม. ณ อิมแพค เมืองทองธานี นนทบุรี.
มูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร. (2547). “สมุนไพร อภัยภูเบศร”. อภัยภูเบศรสาร. 2(15),1-5.
Vicker, A. and Zollman, C. (1999). ABC complementary medicine : Herbal medicine. BMJ. 319 (16) 1050-1052.